Menu Close

โรคของสุกร

โรคในสุกร โรคในหมู หมูเป็นโรค

โรคของสุกร

ในการเลี้ยงสุกรไม่ว่าจะเลี้ยงในครัวเรือนแบบไม่กี่ตัว หรือจะเลี้ยงเป็นฟาร์มสุกร นอกจากวิธีการเลี้ยงที่ถูกต้องเพื่อที่จะได้สุกรโตตามที่ต้องการแล้ว สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามก็คือ โรคของสุกร เพราะถึงแม้ในประเทศไทยอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรเพื่อขายนั้นเติบโตไปได้ด้วยดี 
 
แต่ผู้ที่เลี้ยงสุกร จะต้องประสบกับปัญหากับโรคและพยาธิต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงสุกร ส่งผลในผลผลิตที่จะได้นั้นเป็นไม่ได้ตามที่วางไว้ เพราะโรคบางโรคส่งผลต่อสุกร บางโรคร้ายแรงจนทำให้สุกรตายกันยกคอกเลยก็มี ดังนั้นก่อนที่เราจะเลี้ยงสุกรเราควรรู้ว่า โรคของสุกรมีอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้รู้แนวทางป้องกันและแนวทางการรักษา
 

โรคของสุกรมีอะไรบ้าง สิ่งที่ควรรู้ก่อนทำการเลี้ยงสุกร

โรคของสุกร สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเมื่อทำการเลี้ยงสุกร เพราะโรคเหล่านี้ส่งผลต่อสุกรโดยตรง อาจจะทำให้ผลผลิตนั้นลดลง ด้วยสุกรอาจจะเจริญเติบโตช้า เติบโตไม่เต็มที่ บางรายอาจจะตายก่อนจะที่ส่งขาย ดังนั้นก่อนที่เราจะทำการเลี้ยงสุกรควรที่จะรู้ว่า โรคของสุกร มีอะไรบ้าง

1.โรคอหิวาต์หมู

โรคอหิวาต์หมู เป็นโรคที่พบมากที่สุดและร้ายแรงที่สุด ซึ่งจะเป็นเฉพาะสุกรเท่านั้น ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งคือ ทอร์เทอร์ซูอิส (Tortor suis) โดยจะแพร่เชื้อผ่าน การสัมผัส จากอาหาร น้ำ ที่มีเชื้อปะปน แมลง หนู นก และสุนัข รวมไปถึงคน ซึ่งเป็นพาหะอย่างดี 
 
โดยสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้สูง มีอาการสั่น เบื่ออาหาร มีอาการหงอยซึม หลังโก่ง หูและคอตก ไม่ค่อยลืมตา ขนลุก เยื่อตาอักเสบนัยน์ตาแดงจัด อาจทำให้ตาปิดข้างเดียว หรือสองข้างก็ได้ ผิวหนัง ลักษณะช้ำเป็นผื่นแดงปนม่วงเป็นเม็ดๆ อย่างเช่น บริเวณท้อง โคนขา ใบหู ทำให้สุกรจะอ่อนเพลีย ชอบนอนซุกตามมุมคอก โอกาสตายมีมากถึง 90 %
วิธีป้องกัน โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ให้กับสุกรทุกๆ ตัว ปีละครั้ง สำหรับสุกรที่เพิ่งแสดงอาการเป็นโรคนี้ อาจฉีดเซรุ่มรักษาให้หายได้

Temp Pigatron 13

2.โรคปากและเท้าเปื่อย

โรคปากและเท้าเปื่อย เป็นโรคติดต่อที่ระบาดได้เร็วในสัตว์มีกีบคู่ อย่างเช่น วัว สุกร และอื่นๆ ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ที่มีหลากหลายรูปแบบ โดยในประเทศไทยจะเป็นแบบเอ โอ และเอเชีย1 โรคนี้ติดต่อได้ง่ายผ่านทางอาหารและน้ำ ที่มีเชื้อโรคนี้ หรือติดต่อทางสัมผัส เมื่อสุกรคลุกคลีกับสัตว์ที่เป็นโรค นอกจากนี้แมลงวันหรือแมลงอื่นๆ ก็เป็นพาหะของโรคนี้ด้วย 
 
สุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ เริ่มแรกจะเบื่ออาหาร จมูกแห้ง มีไข้สูง หงอยซึม ภายในปากอักเสบแดง ต่อมามีเม็ดตุ่มแดงที่เยื่อภายในปาก บนลิ้น ริมฝีปาก เพดานปาก เหงือก ตามบริเวณซอกกีบ จะมีตุ่มเหล่านี้จะเกิดพุพอง และกลัดหนอง แล้วแตกเฟะ ทำให้หมูกินอาหารและน้ำไม่สะดวก มีน้ำลายไหลอยู่เสมอ เดินกะเผลก เนื่องจากเท้าเจ็บ บางตัวต้องเดินด้วยเข่า หรือเดินไม่ได้ บางตัวที่เป็นมากกีบจะเน่า และหลุดออก ทำให้หมูหมดกำลังและตายในที่สุด
 
วิธีป้องกัน ควรฉีดวัคซีนป้องกัน 6 เดือนต่อครั้ง และประการสำคัญ อย่าเลี้ยงสัตว์ประเภทกีบคู่ใกล้กัน

3.โรค Trichinosis

โรค Trichinosis เป็นโรคพยาธิในกล้ามเนื้อของสุกร มักจะพบในสุกรน้อยหรือลูกสุกร เป็นโรคที่มีความสำคัญทางด้านสาธารณสุข เพราะการตรวจโรคโดยการตรวจดูตัวอ่อนพยาธิที่ cyst ของกล้ามเนื้อสุกร ที่โรงงานแปรรูปสุกร และการตรวจทางซีรั่มวิทยา และการป้องกันโรคโดยการควบคุมและกำจัดหนูภายในฟาร์ม
 

4.โรค Classical swine fever

โรค Classical swine fever เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส Genus Pestivirus ซึ่งสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการมีไข้ หงอยซึม เบื่ออาหาร ท้องเสีย เดินเซ พบจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ต่อมน้ำเหลือง ไต ถ้าร้ายแรงจะพบเนื้อตายจากการขาดเลือดที่ม้ามโรคนี้จะแพร่เชื้อเมื่อ สุกรขับเชื้อไวรัสทางน้ำมูก น้ำลาย อุจจาระ ปัสสาวะ และน้ำเชื้อสุกร ดังนั้นโรคนี้จะต่อต่อกันได้ง่าย ถ้ายิ่งเลี้ยงสุกรในที่แออัดจนเกินไป
วิธีป้องกัน การฉีดวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ และเข้มงวดระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ

5.โรค Anthrax

โรค Anthrax หรือเรียกอีกชื่อว่า โรคกาลี เป็นโรคระบาดในสัตว์เลี้ยงและคน สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bacillus anthracis ที่ปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำ สุกรที่ได้ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้ ถ่ายเป็นเลือด เลือดออกจมูก จนทำให้หายใจลำบาก ผิวหนังเป็นสีม่วง คอบวม และป่วยตายแบบเฉียบพลัน และโรคนี้สามารถติดจากสัตว์สู่คนได้ด้วย 
 
ซึ่งจะติดจากการสัมผัสกับสัตว์ที่ติดเชื้อและแสดงอาการโดยตรง คนที่ทานเนื้อสุกรที่ติดเชื้อ และหายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไปในร่างกาย เมื่อคนได้รับเชื่อจะมีอาการ ตุ่มแดงตามผิวหนังคล้ายแมลงกัด มีอาการไอ ปวดตามกล้ามเนื้อ มีอาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ บางรายมีอาการท้องร่วงรุนแรง มีอัตราการตายประมาณ 20 %
 
วิธีป้องกัน ป้องกันการปนเปื้อนสปอร์ของเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อม และสัตว์ป่วยในพื้นที่พบการเกิดโรค
ขอขอบคุณ : : สมาคมผู้เลี้ยงสุกร

โรคของสุกร

ในการเลี้ยงสุกรไม่ว่าจะเลี้ยงในครัวเรือนแบบไม่กี่ตัว หรือจะเลี้ยงเป็นฟาร์มสุกร นอกจากวิธีการเลี้ยงที่ถูกต้องเพื่อที่จะได้สุกรโตตามที่ต้องการแล้ว สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามก็คือ โรคของสุกร เพราะถึงแม้ในประเทศไทยอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรเพื่อขายนั้นเติบโตไปได้ด้วยดี แต่ผู้ที่เลี้ยงสุกร จะต้องประสบกับปัญหากับโรคและพยาธิต่างๆ 
 
ที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงสุกร ส่งผลในผลผลิตที่จะได้นั้นเป็นไม่ได้ตามที่วางไว้ เพราะโรคบางโรคส่งผลต่อสุกร บางโรคร้ายแรงจนทำให้สุกรตายกันยกคอกเลยก็มี ดังนั้นก่อนที่เราจะเลี้ยงสุกรเราควรรู้ว่า โรคของสุกรมีอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้รู้แนวทางป้องกันและแนวทางการรักษา
 

โรคของสุกรมีอะไรบ้าง สิ่งที่ควรรู้ก่อนทำการเลี้ยงสุกร

โรคของสุกร สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเมื่อทำการเลี้ยงสุกร เพราะโรคเหล่านี้ส่งผลต่อสุกรโดยตรง อาจจะทำให้ผลผลิตนั้นลดลง ด้วยสุกรอาจจะเจริญเติบโตช้า เติบโตไม่เต็มที่ บางรายอาจจะตายก่อนจะที่ส่งขาย ดังนั้นก่อนที่เราจะทำการเลี้ยงสุกรควรที่จะรู้ว่า โรคของสุกร มีอะไรบ้าง

1.โรคอหิวาต์หมู

โรคอหิวาต์หมู เป็นโรคที่พบมากที่สุดและร้ายแรงที่สุด ซึ่งจะเป็นเฉพาะสุกรเท่านั้น ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งคือ ทอร์เทอร์ซูอิส (Tortor suis) โดยจะแพร่เชื้อผ่าน การสัมผัส จากอาหาร น้ำ ที่มีเชื้อปะปน แมลง หนู นก และสุนัข รวมไปถึงคน ซึ่งเป็นพาหะอย่างดี 
 
โดยสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้สูง มีอาการสั่น เบื่ออาหาร มีอาการหงอยซึม หลังโก่ง หูและคอตก ไม่ค่อยลืมตา ขนลุก เยื่อตาอักเสบนัยน์ตาแดงจัด อาจทำให้ตาปิดข้างเดียว หรือสองข้างก็ได้ ผิวหนัง ลักษณะช้ำเป็นผื่นแดงปนม่วงเป็นเม็ดๆ อย่างเช่น บริเวณท้อง โคนขา ใบหู ทำให้สุกรจะอ่อนเพลีย ชอบนอนซุกตามมุมคอก โอกาสตายมีมากถึง 90 %
 
วิธีป้องกัน โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ให้กับสุกรทุกๆ ตัว ปีละครั้ง สำหรับสุกรที่เพิ่งแสดงอาการเป็นโรคนี้ อาจฉีดเซรุ่มรักษาให้หายได้

2.โรคปากและเท้าเปื่อย

โรคปากและเท้าเปื่อย เป็นโรคติดต่อที่ระบาดได้เร็วในสัตว์มีกีบคู่ อย่างเช่น วัว สุกร และอื่นๆ ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ที่มีหลากหลายรูปแบบ โดยในประเทศไทยจะเป็นแบบเอ โอ และเอเชีย1 โรคนี้ติดต่อได้ง่ายผ่านทางอาหารและน้ำ ที่มีเชื้อโรคนี้ หรือติดต่อทางสัมผัส เมื่อสุกรคลุกคลีกับสัตว์ที่เป็นโรค นอกจากนี้แมลงวันหรือแมลงอื่นๆ 
 
ก็เป็นพาหะของโรคนี้ด้วย สุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ เริ่มแรกจะเบื่ออาหาร จมูกแห้ง มีไข้สูง หงอยซึม ภายในปากอักเสบแดง ต่อมามีเม็ดตุ่มแดงที่เยื่อภายในปาก บนลิ้น ริมฝีปาก เพดานปาก เหงือก ตามบริเวณซอกกีบ จะมีตุ่มเหล่านี้จะเกิดพุพอง และกลัดหนอง แล้วแตกเฟะ ทำให้หมูกินอาหารและน้ำไม่สะดวก มีน้ำลายไหลอยู่เสมอ เดินกะเผลก เนื่องจากเท้าเจ็บ บางตัวต้องเดินด้วยเข่า หรือเดินไม่ได้ บางตัวที่เป็นมากกีบจะเน่า และหลุดออก ทำให้หมูหมดกำลังและตายในที่สุด
 
วิธีป้องกัน ควรฉีดวัคซีนป้องกัน 6 เดือนต่อครั้ง และประการสำคัญ อย่าเลี้ยงสัตว์ประเภทกีบคู่ใกล้กัน
Temp Pigatron 13

3.โรค Trichinosis

โรค Trichinosis เป็นโรคพยาธิในกล้ามเนื้อของสุกร มักจะพบในสุกรน้อยหรือลูกสุกร เป็นโรคที่มีความสำคัญทางด้านสาธารณสุข เพราะการตรวจโรคโดยการตรวจดูตัวอ่อนพยาธิที่ cyst ของกล้ามเนื้อสุกร ที่โรงงานแปรรูปสุกร และการตรวจทางซีรั่มวิทยา และการป้องกันโรคโดยการควบคุมและกำจัดหนูภายในฟาร์ม
 

4.โรค Classical swine fever

โรค Classical swine fever เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส Genus Pestivirus ซึ่งสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการมีไข้ หงอยซึม เบื่ออาหาร ท้องเสีย เดินเซ พบจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ต่อมน้ำเหลือง ไต ถ้าร้ายแรงจะพบเนื้อตายจากการขาดเลือดที่ม้ามโรคนี้จะแพร่เชื้อเมื่อ สุกรขับเชื้อไวรัสทางน้ำมูก น้ำลาย อุจจาระ ปัสสาวะ และน้ำเชื้อสุกร ดังนั้นโรคนี้จะต่อต่อกันได้ง่าย ถ้ายิ่งเลี้ยงสุกรในที่แออัดจนเกินไป
วิธีป้องกัน การฉีดวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ และเข้มงวดระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ

5.โรค Anthrax

โรค Anthrax หรือเรียกอีกชื่อว่า โรคกาลี เป็นโรคระบาดในสัตว์เลี้ยงและคน สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bacillus anthracis ที่ปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำ สุกรที่ได้ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้ ถ่ายเป็นเลือด เลือดออกจมูก จนทำให้หายใจลำบาก ผิวหนังเป็นสีม่วง คอบวม และป่วยตายแบบเฉียบพลัน และโรคนี้สามารถติดจากสัตว์สู่คนได้ด้วย 
 
ซึ่งจะติดจากการสัมผัสกับสัตว์ที่ติดเชื้อและแสดงอาการโดยตรง คนที่ทานเนื้อสุกรที่ติดเชื้อ และหายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไปในร่างกาย เมื่อคนได้รับเชื่อจะมีอาการ ตุ่มแดงตามผิวหนังคล้ายแมลงกัด มีอาการไอ ปวดตามกล้ามเนื้อ มีอาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ บางรายมีอาการท้องร่วงรุนแรง มีอัตราการตายประมาณ 20 %
วิธีป้องกัน ป้องกันการปนเปื้อนสปอร์ของเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อม และสัตว์ป่วยในพื้นที่พบการเกิดโรค
 

โรคของสุกร

ในการเลี้ยงสุกรไม่ว่าจะเลี้ยงในครัวเรือนแบบไม่กี่ตัว หรือจะเลี้ยงเป็นฟาร์มสุกร นอกจากวิธีการเลี้ยงที่ถูกต้องเพื่อที่จะได้สุกรโตตามที่ต้องการแล้ว สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามก็คือ โรคของสุกร เพราะถึงแม้ในประเทศไทยอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรเพื่อขายนั้นเติบโตไปได้ด้วยดี แต่ผู้ที่เลี้ยงสุกร จะต้องประสบกับปัญหากับโรคและพยาธิต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงสุกร ส่งผลในผลผลิตที่จะได้นั้นเป็นไม่ได้ตามที่วางไว้ เพราะโรคบางโรคส่งผลต่อสุกร บางโรคร้ายแรงจนทำให้สุกรตายกันยกคอกเลยก็มี ดังนั้นก่อนที่เราจะเลี้ยงสุกรเราควรรู้ว่า โรคของสุกรมีอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้รู้แนวทางป้องกันและแนวทางการรักษา
 
โรคของสุกรมีอะไรบ้าง สิ่งที่ควรรู้ก่อนทำการเลี้ยงสุกร
โรคของสุกร สิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเมื่อทำการเลี้ยงสุกร เพราะโรคเหล่านี้ส่งผลต่อสุกรโดยตรง อาจจะทำให้ผลผลิตนั้นลดลง ด้วยสุกรอาจจะเจริญเติบโตช้า เติบโตไม่เต็มที่ บางรายอาจจะตายก่อนจะที่ส่งขาย ดังนั้นก่อนที่เราจะทำการเลี้ยงสุกรควรที่จะรู้ว่า โรคของสุกร มีอะไรบ้าง

1.โรคอหิวาต์หมู

โรคอหิวาต์หมู เป็นโรคที่พบมากที่สุดและร้ายแรงที่สุด ซึ่งจะเป็นเฉพาะสุกรเท่านั้น ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งคือ ทอร์เทอร์ซูอิส (Tortor suis) โดยจะแพร่เชื้อผ่าน การสัมผัส จากอาหาร น้ำ ที่มีเชื้อปะปน แมลง หนู นก และสุนัข รวมไปถึงคน ซึ่งเป็นพาหะอย่างดี 
 
โดยสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้สูง มีอาการสั่น เบื่ออาหาร มีอาการหงอยซึม หลังโก่ง หูและคอตก ไม่ค่อยลืมตา ขนลุก เยื่อตาอักเสบนัยน์ตาแดงจัด อาจทำให้ตาปิดข้างเดียว หรือสองข้างก็ได้ ผิวหนัง ลักษณะช้ำเป็นผื่นแดงปนม่วงเป็นเม็ดๆ อย่างเช่น บริเวณท้อง โคนขา ใบหู ทำให้สุกรจะอ่อนเพลีย ชอบนอนซุกตามมุมคอก โอกาสตายมีมากถึง 90 %
วิธีป้องกัน โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ให้กับสุกรทุกๆ ตัว ปีละครั้ง สำหรับสุกรที่เพิ่งแสดงอาการเป็นโรคนี้ อาจฉีดเซรุ่มรักษาให้หายได้

2.โรคปากและเท้าเปื่อย

โรคปากและเท้าเปื่อย เป็นโรคติดต่อที่ระบาดได้เร็วในสัตว์มีกีบคู่ อย่างเช่น วัว สุกร และอื่นๆ ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ที่มีหลากหลายรูปแบบ โดยในประเทศไทยจะเป็นแบบเอ โอ และเอเชีย1 โรคนี้ติดต่อได้ง่ายผ่านทางอาหารและน้ำ ที่มีเชื้อโรคนี้ หรือติดต่อทางสัมผัส เมื่อสุกรคลุกคลีกับสัตว์ที่เป็นโรค นอกจากนี้แมลงวันหรือแมลงอื่นๆ ก็เป็นพาหะของโรคนี้ด้วย สุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการ เริ่มแรกจะเบื่ออาหาร จมูกแห้ง มีไข้สูง หงอยซึม 
 
ภายในปากอักเสบแดง ต่อมามีเม็ดตุ่มแดงที่เยื่อภายในปาก บนลิ้น ริมฝีปาก เพดานปาก เหงือก ตามบริเวณซอกกีบ จะมีตุ่มเหล่านี้จะเกิดพุพอง และกลัดหนอง แล้วแตกเฟะ ทำให้หมูกินอาหารและน้ำไม่สะดวก มีน้ำลายไหลอยู่เสมอ เดินกะเผลก เนื่องจากเท้าเจ็บ บางตัวต้องเดินด้วยเข่า หรือเดินไม่ได้ บางตัวที่เป็นมากกีบจะเน่า และหลุดออก ทำให้หมูหมดกำลังและตายในที่สุด
 
วิธีป้องกัน ควรฉีดวัคซีนป้องกัน 6 เดือนต่อครั้ง และประการสำคัญ อย่าเลี้ยงสัตว์ประเภทกีบคู่ใกล้กัน
Temp Pigatron 13

3.โรค Trichinosis

โรค Trichinosis เป็นโรคพยาธิในกล้ามเนื้อของสุกร มักจะพบในสุกรน้อยหรือลูกสุกร เป็นโรคที่มีความสำคัญทางด้านสาธารณสุข เพราะการตรวจโรคโดยการตรวจดูตัวอ่อนพยาธิที่ cyst ของกล้ามเนื้อสุกร ที่โรงงานแปรรูปสุกร และการตรวจทางซีรั่มวิทยา และการป้องกันโรคโดยการควบคุมและกำจัดหนูภายในฟาร์ม
 

4.โรค Classical swine fever

โรค Classical swine fever เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส Genus Pestivirus ซึ่งสุกรที่ติดเชื้อจะมีอาการมีไข้ หงอยซึม เบื่ออาหาร ท้องเสีย เดินเซ พบจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ต่อมน้ำเหลือง ไต ถ้าร้ายแรงจะพบเนื้อตายจากการขาดเลือดที่ม้ามโรคนี้จะแพร่เชื้อเมื่อ สุกรขับเชื้อไวรัสทางน้ำมูก น้ำลาย อุจจาระ ปัสสาวะ และน้ำเชื้อสุกร ดังนั้นโรคนี้จะต่อต่อกันได้ง่าย ถ้ายิ่งเลี้ยงสุกรในที่แออัดจนเกินไป
วิธีป้องกัน การฉีดวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ และเข้มงวดระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ

5.โรค Anthrax

โรค Anthrax หรือเรียกอีกชื่อว่า โรคกาลี เป็นโรคระบาดในสัตว์เลี้ยงและคน สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bacillus anthracis ที่ปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำ สุกรที่ได้ติดเชื้อจะมีอาการ มีไข้ ถ่ายเป็นเลือด เลือดออกจมูก จนทำให้หายใจลำบาก ผิวหนังเป็นสีม่วง คอบวม และป่วยตายแบบเฉียบพลัน และโรคนี้สามารถติดจากสัตว์สู่คนได้ด้วย 
 
ซึ่งจะติดจากการสัมผัสกับสัตว์ที่ติดเชื้อและแสดงอาการโดยตรง คนที่ทานเนื้อสุกรที่ติดเชื้อ และหายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไปในร่างกาย เมื่อคนได้รับเชื่อจะมีอาการ ตุ่มแดงตามผิวหนังคล้ายแมลงกัด มีอาการไอ ปวดตามกล้ามเนื้อ มีอาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ บางรายมีอาการท้องร่วงรุนแรง มีอัตราการตายประมาณ 20 %
วิธีป้องกัน ป้องกันการปนเปื้อนสปอร์ของเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อม และสัตว์ป่วยในพื้นที่พบการเกิดโรค
 
 
 
ฉีกทุกกฏการเลี้ยง ให้เป็นเรื่องง่ายแค่ปลายนิ้วของคุณ

  Temp Pigatron 13  !!

อิสระ ในการตั้งโปรแกรมอุณหภูมิสำหรับพัดลม, ป๊มน้ำ และฮีตเตอร์ ตามอายุของสัตว์เลี้ยงได้
อิสระ ในการเลือก เปิด/ปิด พัดลม ตามวันและเวลาได้
ไม่พลาดทุกเหตุการณ์ เพื่อให้การเลี้ยงของคุณเป็นไปอย่างราบรื่น
✅ด้วยระบบ เก็บข้อมูลค่าสูงสุดหรือต่ำสุดของอุณหภูมิและความชื้น
✅ระบบแจ้งเตือนเมื่อมีความผิดปกติของ อุณภูมิ, ความชื้น และเซนเซอร์
เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
Click the link below for more information
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller  #piggy #farm  #smartfarm #temperaturecontroller #pigfarm  #climate #humiditycontroller #controller  #carbondioxide #ammonia  #sensors #automaticcontroller  #chicken #pig #ฟาร์ม  #ฟาร์มไก่  #ฟาร์มหมู #สมาร์ทฟาร์ม  #เลี้ยงไก่  #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ  #คอนโทรลเลอร์  #เซนเซอร์อุณหภูมิ  #เซนเซอร์ความชื้น
 
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!