Menu Close

เลี้ยงไก่ ให้ได้มาตรฐานบริษัท

เลี้ยงไก่มาตรฐานบริษัท

ไก่เนื้อในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีอัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio : FCR) ดีขึ้นตามลำดับ ดังนั้นขั้นตอนการเลี้ยงและการบริหารจัดการฟาร์มไก่เนื้อให้ได้ผลผลิตดีและมีคุณภาพ ตามมาตรฐานฟาร์มของบริษัทใหญ่ที่เลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันทั้งหมด (All in – all out) มีอะไรบ้าง พอจะสรุปให้เข้าใจได้ดังนี้

 

โดยเริ่มจากการเข้าสู่การพักโรงเรือน (Down time) หรือที่เราเรียกกันว่า “พักเล้า” อย่างน้อย 7-14 วัน หรืออาจใช้ระยะเวลามากกว่านั้น ซึ่งขึ้นอยู่กับบริษัทที่เป็นคอนแทรคฟาร์มด้วย
สำหรับวิธีการนี้ส่งผลดีกับผู้บริโภคเป็นอย่างมาก แต่สำหรับผู้เลี้ยงหรือผู้ดูแลฟาร์มอาจต้องเหนื่อยมาก

 

12 ขั้นตอนการเลี้ยงให้ได้มาตฐาน

1. จัดการนำวัสดุรองพื้นเก่า (มูลไก่ที่ผสมแกลบ) ออกจากโรงเรือน
2. ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคภายในและภายนอกโรงเรือน อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ให้สะอาด เช่น อุปกรณ์ให้น้ำ ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ พร้อมเก็บตัวอย่างไปตรวจวิเคราะห์หาเชื้อโรค เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคระบาด
3. จัดการนำวัสดุรองพื้น (แกลบ) ที่สะอาดเข้าโรงเรือน โดยปูวัสดุรองพื้นให้มีความหนาประมาณ 3-4 นิ้ว (8-10 เซนติเมตร) ขั้นตอนนี้ต้องมีการตรวจวิเคราะห์ความสะอาดของแกลบทุกครั้ง

 

Temp controller

4. เกลี่ยแกลบให้เต็มพื้นที่โรงเรือน และเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงให้พร้อม รวมถึงการทำใบขออนุญาตลงไก่ที่สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่ด้วย
5. เลี้ยงไก่ตามโปรแกรมพร้อมติดตามผล 24 ชม. จนครบระยะเวลาการเลี้ยงหรือตามน้ำหนักที่บริษัทกำหนด ซึ่งจะมีน้ำหนักตั้งแต่ 1.3-2.8 กิโลกรัม หรือเลี้ยง 28-60 วัน
6. ก่อนจับไก่ออกจากโรงเรือนต้องเก็บตัวอย่างไปตรวจ เพื่อหาเชื้อไข้หวัดนก (สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่) รอผลแลปประมาณ 7-10 วัน ก่อนจับ เพื่อนำไปประกอบกับใบอนุญาตเคลื่อนย้าย
7. มีการตรวจงานฟาร์ม (ออดิท) ตามมาตรฐานของบริษัทใหญ่ คิดเป็นคะแนน 10%
8. เก็บตัวอย่างมูลไก่ตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาก่อน เพื่อจัดคิวเข้าโรงเชือด
9. สุ่มชั่งน้ำหนักหาค่าเฉลี่ยของตัวไก่ก่อนเข้าเชือด เพื่อการประมาณรถบรรทุกไก่ใหญ่ มีค่าวิเคราะห์ความแม่นยำ คิดเป็นคะแนน 20%

 

10. ทำใบเคลื่อนย้ายสัตว์ ร.1 และรอใบอนุญาต ร.4 จากสำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่
11. จับไก่ออกจากโรงเรือนแล้ว รอผลน้ำหนักหน้าโรงงาน สรุปการ์ดหน้าเล้า โดยค่า pi (ประสิทธิภาพการเลี้ยง) มีน้ำหนักการนำไปจัดเกรดฟาร์ม อีก 35% และบวกกับคะแนนการตกราวอีก 25% อีก 10% คือ คะแนน bio 2 = การสุ่มตรวจฟาร์มแบบไม่มีการนัดหมายล่วงหน้า
12. รอสรุปบัญชี ภายใน 14 วันหลังจับไก่

นอกจากนี้ยังมีการเจาะเลือดไก่ ตรวจแรงงานภายในฟาร์ม และตรวจคุณภาพน้ำประจำปีด้วย

เลี้ยงไก่มาตรฐานบริษัท

ไก่เนื้อในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีอัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio : FCR) ดีขึ้นตามลำดับ ดังนั้นขั้นตอนการเลี้ยงและการบริหารจัดการฟาร์มไก่เนื้อให้ได้ผลผลิตดีและมีคุณภาพ ตามมาตรฐานฟาร์มของบริษัทใหญ่ที่เลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันทั้งหมด (All in – all out) มีอะไรบ้าง พอจะสรุปให้เข้าใจได้ดังนี้
 
โดยเริ่มจากการเข้าสู่การพักโรงเรือน (Down time) หรือที่เราเรียกกันว่า “พักเล้า” อย่างน้อย 7-14 วัน หรืออาจใช้ระยะเวลามากกว่านั้น ซึ่งขึ้นอยู่กับบริษัทที่เป็นคอนแทรคฟาร์มด้วย
สำหรับวิธีการนี้ส่งผลดีกับผู้บริโภคเป็นอย่างมาก แต่สำหรับผู้เลี้ยงหรือผู้ดูแลฟาร์มอาจต้องเหนื่อยมาก
 
12 ขั้นตอนการเลี้ยงให้ได้มาตฐาน
1. จัดการนำวัสดุรองพื้นเก่า (มูลไก่ที่ผสมแกลบ) ออกจากโรงเรือน
2. ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคภายในและภายนอกโรงเรือน อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ให้สะอาด เช่น อุปกรณ์ให้น้ำ ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ พร้อมเก็บตัวอย่างไปตรวจวิเคราะห์หาเชื้อโรค เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคระบาด
3. จัดการนำวัสดุรองพื้น (แกลบ) ที่สะอาดเข้าโรงเรือน โดยปูวัสดุรองพื้นให้มีความหนาประมาณ 3-4 นิ้ว (8-10 เซนติเมตร) ขั้นตอนนี้ต้องมีการตรวจวิเคราะห์ความสะอาดของแกลบทุกครั้ง
Temp controller
4. เกลี่ยแกลบให้เต็มพื้นที่โรงเรือน และเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงให้พร้อม รวมถึงการทำใบขออนุญาตลงไก่ที่สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่ด้วย
5. เลี้ยงไก่ตามโปรแกรมพร้อมติดตามผล 24 ชม. จนครบระยะเวลาการเลี้ยงหรือตามน้ำหนักที่บริษัทกำหนด ซึ่งจะมีน้ำหนักตั้งแต่ 1.3-2.8 กิโลกรัม หรือเลี้ยง 28-60 วัน
6. ก่อนจับไก่ออกจากโรงเรือนต้องเก็บตัวอย่างไปตรวจ เพื่อหาเชื้อไข้หวัดนก (สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่) รอผลแลปประมาณ 7-10 วัน ก่อนจับ เพื่อนำไปประกอบกับใบอนุญาตเคลื่อนย้าย
7. มีการตรวจงานฟาร์ม (ออดิท) ตามมาตรฐานของบริษัทใหญ่ คิดเป็นคะแนน 10%
8. เก็บตัวอย่างมูลไก่ตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาก่อน เพื่อจัดคิวเข้าโรงเชือด
9. สุ่มชั่งน้ำหนักหาค่าเฉลี่ยของตัวไก่ก่อนเข้าเชือด เพื่อการประมาณรถบรรทุกไก่ใหญ่ มีค่าวิเคราะห์ความแม่นยำ คิดเป็นคะแนน 20%
 
10. ทำใบเคลื่อนย้ายสัตว์ ร.1 และรอใบอนุญาต ร.4 จากสำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่
11. จับไก่ออกจากโรงเรือนแล้ว รอผลน้ำหนักหน้าโรงงาน สรุปการ์ดหน้าเล้า โดยค่า pi (ประสิทธิภาพการเลี้ยง) มีน้ำหนักการนำไปจัดเกรดฟาร์ม อีก 35% และบวกกับคะแนนการตกราวอีก 25% อีก 10% คือ คะแนน bio 2 = การสุ่มตรวจฟาร์มแบบไม่มีการนัดหมายล่วงหน้า
12. รอสรุปบัญชี ภายใน 14 วันหลังจับไก่
นอกจากนี้ยังมีการเจาะเลือดไก่ ตรวจแรงงานภายในฟาร์ม และตรวจคุณภาพน้ำประจำปีด้วย
 

เลี้ยงไก่มาตรฐานบริษัท

 
ไก่เนื้อในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีอัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio : FCR) ดีขึ้นตามลำดับ ดังนั้นขั้นตอนการเลี้ยงและการบริหารจัดการฟาร์มไก่เนื้อให้ได้ผลผลิตดีและมีคุณภาพ ตามมาตรฐานฟาร์มของบริษัทใหญ่ที่เลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันทั้งหมด (All in – all out) มีอะไรบ้าง พอจะสรุปให้เข้าใจได้ดังนี้
 
โดยเริ่มจากการเข้าสู่การพักโรงเรือน (Down time) หรือที่เราเรียกกันว่า “พักเล้า” อย่างน้อย 7-14 วัน หรืออาจใช้ระยะเวลามากกว่านั้น ซึ่งขึ้นอยู่กับบริษัทที่เป็นคอนแทรคฟาร์มด้วย
สำหรับวิธีการนี้ส่งผลดีกับผู้บริโภคเป็นอย่างมาก แต่สำหรับผู้เลี้ยงหรือผู้ดูแลฟาร์มอาจต้องเหนื่อยมาก
 
12 ขั้นตอนการเลี้ยงให้ได้มาตฐาน
1. จัดการนำวัสดุรองพื้นเก่า (มูลไก่ที่ผสมแกลบ) ออกจากโรงเรือน
2. ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคภายในและภายนอกโรงเรือน อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ให้สะอาด เช่น อุปกรณ์ให้น้ำ ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ พร้อมเก็บตัวอย่างไปตรวจวิเคราะห์หาเชื้อโรค เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคระบาด
3. จัดการนำวัสดุรองพื้น (แกลบ) ที่สะอาดเข้าโรงเรือน โดยปูวัสดุรองพื้นให้มีความหนาประมาณ 3-4 นิ้ว (8-10 เซนติเมตร) ขั้นตอนนี้ต้องมีการตรวจวิเคราะห์ความสะอาดของแกลบทุกครั้ง
 
Temp controller
4. เกลี่ยแกลบให้เต็มพื้นที่โรงเรือน และเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงให้พร้อม รวมถึงการทำใบขออนุญาตลงไก่ที่สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่ด้วย
5. เลี้ยงไก่ตามโปรแกรมพร้อมติดตามผล 24 ชม. จนครบระยะเวลาการเลี้ยงหรือตามน้ำหนักที่บริษัทกำหนด ซึ่งจะมีน้ำหนักตั้งแต่ 1.3-2.8 กิโลกรัม หรือเลี้ยง 28-60 วัน
6. ก่อนจับไก่ออกจากโรงเรือนต้องเก็บตัวอย่างไปตรวจ เพื่อหาเชื้อไข้หวัดนก (สำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่) รอผลแลปประมาณ 7-10 วัน ก่อนจับ เพื่อนำไปประกอบกับใบอนุญาตเคลื่อนย้าย
7. มีการตรวจงานฟาร์ม (ออดิท) ตามมาตรฐานของบริษัทใหญ่ คิดเป็นคะแนน 10%

8. เก็บตัวอย่างมูลไก่ตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาก่อน เพื่อจัดคิวเข้าโรงเชือด
9. สุ่มชั่งน้ำหนักหาค่าเฉลี่ยของตัวไก่ก่อนเข้าเชือด เพื่อการประมาณรถบรรทุกไก่ใหญ่ มีค่าวิเคราะห์ความแม่นยำ คิดเป็นคะแนน 20%
10. ทำใบเคลื่อนย้ายสัตว์ ร.1 และรอใบอนุญาต ร.4 จากสำนักงานปศุสัตว์ในพื้นที่
11. จับไก่ออกจากโรงเรือนแล้ว รอผลน้ำหนักหน้าโรงงาน สรุปการ์ดหน้าเล้า โดยค่า pi (ประสิทธิภาพการเลี้ยง) มีน้ำหนักการนำไปจัดเกรดฟาร์ม อีก 35% และบวกกับคะแนนการตกราวอีก 25% อีก 10% คือ คะแนน bio 2 = การสุ่มตรวจฟาร์มแบบไม่มีการนัดหมายล่วงหน้า
12. รอสรุปบัญชี ภายใน 14 วันหลังจับไก่
นอกจากนี้ยังมีการเจาะเลือดไก่ ตรวจแรงงานภายในฟาร์ม และตรวจคุณภาพน้ำประจำปีด้วย
 
 
ทำลายทุกข้อจำกัด ฉีกทุกการเลี้ยงแบบเดิมๆ เราขอเสนอ

 Temp Chickatron 20 Climate Controller

✅อิสระในการเลือก 16 Output ของคุณได้ตามลักษณะการใช้งาน
✅อิสระในการบริหารจัดการ สามารถดูข้อมูลสรุปการเลี้ยงและการตั้งค่าของเครื่องได้
✅อิสระในการเลือกวันที่จะให้หรือไม่ให้อาหารได้
✅อิสระในการตั้งค่าโปรแกรมการเลี้ยงได้ตามใจผู้ใช้
✅จอแสดงผลสี หน้าจอสัมผัสขนาด 7 นิ้ว

 

Freedom that you can Control
Beat every limitation with our brand new climate controller:
Temp Chickatron20.
 
✅Free to choose desired 16 Outputs according to the user’s application.
✅Free to set the feeding program according to the user’s application.
✅Free to select feeding day and fasting day.
✅Free to review and edit the feeding programs and settings.
✅With color display touchscreen 7 inches.
 
เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
Click the link below for more information
 
https://tempclimatecontroller.com/
#climatecontroller #poultry #farm #smartfarm #temperaturecontroller #chickenfarm #climate #humiditycontroller #controller #carbondioxide #ammonia #sensors #automaticcontroller #chicken #pig #ฟาร์ม #ฟาร์มไก่ #สมาร์ทฟาร์ม #เลี้ยงไก่ #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ #คอนโทรลเลอร์ #เซนเซอร์อุณหภูมิ #เซนเซอร์ความชื้น
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!