Menu Close

กินหมูปรุงสุก ป้องกัน ไข้หูดับ

ป้องกัน ไข้หูดับ

กินหมูสุกๆ ดิบๆ เสี่ยงโรคไข้หูดับ

 

โรคไข้หูดับ คือ ภาวะติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว เกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และติดเชื้อในกระแส เลือด ทําให้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง เกิดภาวะแทรกซ้อนหูดับถาวร หรือเสียชีวิตได้

 

เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis อยู่ในทางเดินหายใจหมู และในเลือดของหมูที่กําลังป่วย เชื้อนี้จะติดต่อมายังคนได้จากการบริโภคเนื้อหมู เลือดหมูที่ปรุงแบบสุก ๆ ดิบ ๆ หรือแบบดิบ และจากการสัมผัสชิ้นส่วนของเนื้อหมู เลือดหมู ผ่านทางผิวหนังที่มีรอยถลอก บาดแผล หรือเยื่อบุตา โดยกลุ่มเสี่ยงที่หากสัมผัสเชื้อแล้วจะมีโอกาสเกิดภาวะ แทรกซ้อนรุนแรงได้มาก ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจําตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง กลุ่มบุคคลที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ําจากสาเหตุต่าง ๆ

 
 

โรคไข้หูดับจัดเป็นโรคติดเชื้อที่สามารถป้องกันได้ไม่ยาก พื้นฐานคือดูแลจัดการร่างกายตนเองให้แข็งแรง ออกกําลังกายสม่ําเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงจากการ สัมผัสหรือบริโภคเนื้อหมูที่ไม่ได้รับการปรุงสุก หากเลี่ยงการสัมผัสเนื้อหมู หรือส่วนประกอบของเนื้อหมูไม่ได้ ก็ควรมีการป้องกันเบื้องต้น เช่น สวมถุงมือ ใส่รองเท้าบูท เป็นต้น การวินิจฉัย 

 

ทําได้ในผู้ที่มีอาการน่าสงสัย เช่น ไข้สูง ปวดศีรษะ คอแข็ง มีประวัติสัมผัส หรือบริโภคเนื้อหมูแบบสุก ๆ ดิบ ๆ มาก่อน ในช่วงไม่เกิน 14 วัน โดยผู้ป่วยจะได้ รับการตรวจเพาะเชื้อจากเลือด และน้ําเยื่อหุ้มไขสันหลัง เพื่อหาเชื้อ Streptococcus Suis

 
Temp Pigatron 13

 

การรักษา จะเป็นการดูแลรักษาแบบครบด้าน ทั้งการรักษาแบบเฉพาะเจาะจงคือการให้ยาฆ่าเชื้อก่อโรคผ่านทางเส้นเลือดดํา การรักษาตามอาการ คือการดูแล ลดอาการ ปวด ลดอาการไข้ ลดอาการเวียนศีรษะ ด้วยวิธีการทางยาและอื่น ๆ การรักษาประคับประคอง คือ การช่วยให้สารน้ํา สารอาหาร เกลือแร่ต่าง ๆ แก่ผู้ป่วยอย่างพอเพียง ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงทางหู คือ ภาวะหูดับ จะเกิดขึ้นตามหลังจากการเกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ 

 

โดยการอักเสบจะลามจากน้ําเยื่อหุ้มสมองมายังหูชั้นใน ทําให้เกิด ภาวะหูชั้นในอักเสบ ซึ่งในส่วนของกระดูกก้นหอยของหูชั้นใน มีอวัยวะที่ทําหน้าที่รับเสียงอยู่ ทําให้เกิดอาการหูดับขึ้น โดยมักจะเป็นกับหูทั้งสองข้าง หากเกิดขึ้นแล้ว ผู้ป่วยจะไม่ สามารถได้ยินอีก จัดเป็นภาวะรีบด่วนที่ผู้ป่วยควรต้องได้รับการผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมเพื่อฟื้นฟูการได้ยิน ซึ่งจะทําให้ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะกลับมาสื่อสารในแบบสังคมปกติได้อีก ครั้ง

 

ภาวะหูดับจากโรคไข้หูดับ จัดเป็นภาวะที่สมควรได้รับการวินิจฉัยได้โดยเร็ว เนื่องจากสมองที่ไม่ได้รับการกระตุ้นจากเสียง จะเสียความสามารถในการรับฟังไปเรื่อย ๆ ยิ่ง นานวัน โอกาสฟื้นฟูก็จะยิ่งลดลงทําให้โอกาสความสําเร็จหลังการผ่าตัดลดลง และอีกปัจจัยที่สําคัญมากคือ ภาวะไข้หูดับ มีโอกาสที่จะเกิดการตีบตันของท่อนําเสียงในกระดูก ก้นหอยสูงมาก จึงควรพิจารณาการรักษาอย่างเร็วไว เพราะหากท่อนําเสียงในกระดูกก้นหอยตีบตันไปแล้ว การผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมแบบมาตรฐานก็จะไม่สามารถทําได้เลย

 
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
 
 
กินหมูสุกๆ ดิบๆ เสี่ยงโรคไข้หูดับ
 
โรคไข้หูดับ คือ ภาวะติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว เกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และติดเชื้อในกระแส เลือด ทําให้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง เกิดภาวะแทรกซ้อนหูดับถาวร หรือเสียชีวิตได้
 
เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis อยู่ในทางเดินหายใจหมู และในเลือดของหมูที่กําลังป่วย เชื้อนี้จะติดต่อมายังคนได้จากการบริโภคเนื้อหมู เลือดหมูที่ปรุงแบบสุก ๆ ดิบ ๆ หรือแบบดิบ และจากการสัมผัสชิ้นส่วนของเนื้อหมู เลือดหมู ผ่านทางผิวหนังที่มีรอยถลอก บาดแผล หรือเยื่อบุตา โดยกลุ่มเสี่ยงที่หากสัมผัสเชื้อแล้วจะมีโอกาสเกิดภาวะ แทรกซ้อนรุนแรงได้มาก ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจําตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง กลุ่มบุคคลที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ําจากสาเหตุต่าง ๆ
 
โรคไข้หูดับจัดเป็นโรคติดเชื้อที่สามารถป้องกันได้ไม่ยาก พื้นฐานคือดูแลจัดการร่างกายตนเองให้แข็งแรง ออกกําลังกายสม่ําเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงจากการ สัมผัสหรือบริโภคเนื้อหมูที่ไม่ได้รับการปรุงสุก หากเลี่ยงการสัมผัสเนื้อหมู หรือส่วนประกอบของเนื้อหมูไม่ได้ ก็ควรมีการป้องกันเบื้องต้น เช่น สวมถุงมือ ใส่รองเท้าบูท เป็นต้น การวินิจฉัย ทําได้ในผู้ที่มีอาการน่าสงสัย เช่น ไข้สูง ปวดศีรษะ คอแข็ง มีประวัติสัมผัส หรือบริโภคเนื้อหมูแบบสุก ๆ ดิบ ๆ มาก่อน ในช่วงไม่เกิน 14 วัน โดยผู้ป่วยจะได้ รับการตรวจเพาะเชื้อจากเลือด และน้ําเยื่อหุ้มไขสันหลัง เพื่อหาเชื้อ Streptococcus Suis
Temp Pigatron 13
การรักษา จะเป็นการดูแลรักษาแบบครบด้าน ทั้งการรักษาแบบเฉพาะเจาะจงคือการให้ยาฆ่าเชื้อก่อโรคผ่านทางเส้นเลือดดํา การรักษาตามอาการ คือการดูแล ลดอาการ ปวด ลดอาการไข้ ลดอาการเวียนศีรษะ ด้วยวิธีการทางยาและอื่น ๆ การรักษาประคับประคอง คือ การช่วยให้สารน้ํา สารอาหาร เกลือแร่ต่าง ๆ แก่ผู้ป่วยอย่างพอเพียง ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงทางหู คือ ภาวะหูดับ จะเกิดขึ้นตามหลังจากการเกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ 
 
โดยการอักเสบจะลามจากน้ําเยื่อหุ้มสมองมายังหูชั้นใน ทําให้เกิด ภาวะหูชั้นในอักเสบ ซึ่งในส่วนของกระดูกก้นหอยของหูชั้นใน มีอวัยวะที่ทําหน้าที่รับเสียงอยู่ ทําให้เกิดอาการหูดับขึ้น โดยมักจะเป็นกับหูทั้งสองข้าง หากเกิดขึ้นแล้ว ผู้ป่วยจะไม่ สามารถได้ยินอีก จัดเป็นภาวะรีบด่วนที่ผู้ป่วยควรต้องได้รับการผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมเพื่อฟื้นฟูการได้ยิน ซึ่งจะทําให้ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะกลับมาสื่อสารในแบบสังคมปกติได้อีก ครั้ง
 
ภาวะหูดับจากโรคไข้หูดับ จัดเป็นภาวะที่สมควรได้รับการวินิจฉัยได้โดยเร็ว เนื่องจากสมองที่ไม่ได้รับการกระตุ้นจากเสียง จะเสียความสามารถในการรับฟังไปเรื่อย ๆ ยิ่ง นานวัน โอกาสฟื้นฟูก็จะยิ่งลดลงทําให้โอกาสความสําเร็จหลังการผ่าตัดลดลง และอีกปัจจัยที่สําคัญมากคือ ภาวะไข้หูดับ มีโอกาสที่จะเกิดการตีบตันของท่อนําเสียงในกระดูก ก้นหอยสูงมาก จึงควรพิจารณาการรักษาอย่างเร็วไว เพราะหากท่อนําเสียงในกระดูกก้นหอยตีบตันไปแล้ว การผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมแบบมาตรฐานก็จะไม่สามารถทําได้เลย
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
 
กินหมูสุกๆ ดิบๆ เสี่ยงโรคไข้หูดับ
โรคไข้หูดับ คือ ภาวะติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว เกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และติดเชื้อในกระแส เลือด ทําให้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง เกิดภาวะแทรกซ้อนหูดับถาวร หรือเสียชีวิตได้
 
เชื้อแบคทีเรีย Streptococcus Suis อยู่ในทางเดินหายใจหมู และในเลือดของหมูที่กําลังป่วย เชื้อนี้จะติดต่อมายังคนได้จากการบริโภคเนื้อหมู เลือดหมูที่ปรุงแบบสุก ๆ ดิบ ๆ หรือแบบดิบ และจากการสัมผัสชิ้นส่วนของเนื้อหมู เลือดหมู ผ่านทางผิวหนังที่มีรอยถลอก บาดแผล หรือเยื่อบุตา โดยกลุ่มเสี่ยงที่หากสัมผัสเชื้อแล้วจะมีโอกาสเกิดภาวะ แทรกซ้อนรุนแรงได้มาก ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจําตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง กลุ่มบุคคลที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ําจากสาเหตุต่าง ๆ
 
โรคไข้หูดับจัดเป็นโรคติดเชื้อที่สามารถป้องกันได้ไม่ยาก พื้นฐานคือดูแลจัดการร่างกายตนเองให้แข็งแรง ออกกําลังกายสม่ําเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงจากการ สัมผัสหรือบริโภคเนื้อหมูที่ไม่ได้รับการปรุงสุก หากเลี่ยงการสัมผัสเนื้อหมู หรือส่วนประกอบของเนื้อหมูไม่ได้ ก็ควรมีการป้องกันเบื้องต้น เช่น สวมถุงมือ ใส่รองเท้าบูท เป็นต้น การวินิจฉัย ทําได้ในผู้ที่มีอาการน่าสงสัย เช่น ไข้สูง ปวดศีรษะ คอแข็ง มีประวัติสัมผัส หรือบริโภคเนื้อหมูแบบสุก ๆ ดิบ ๆ มาก่อน ในช่วงไม่เกิน 14 วัน โดยผู้ป่วยจะได้ รับการตรวจเพาะเชื้อจากเลือด และน้ําเยื่อหุ้มไขสันหลัง เพื่อหาเชื้อ Streptococcus Suis
Temp Pigatron 13
การรักษา จะเป็นการดูแลรักษาแบบครบด้าน ทั้งการรักษาแบบเฉพาะเจาะจงคือการให้ยาฆ่าเชื้อก่อโรคผ่านทางเส้นเลือดดํา การรักษาตามอาการ คือการดูแล ลดอาการ ปวด ลดอาการไข้ ลดอาการเวียนศีรษะ ด้วยวิธีการทางยาและอื่น ๆ การรักษาประคับประคอง คือ การช่วยให้สารน้ํา สารอาหาร เกลือแร่ต่าง ๆ แก่ผู้ป่วยอย่างพอเพียง ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงทางหู คือ ภาวะหูดับ จะเกิดขึ้นตามหลังจากการเกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โดยการอักเสบจะลามจากน้ําเยื่อหุ้มสมองมายังหูชั้นใน ทําให้เกิด ภาวะหูชั้นในอักเสบ ซึ่งในส่วนของกระดูกก้นหอยของหูชั้นใน มีอวัยวะที่ทําหน้าที่รับเสียงอยู่ ทําให้เกิดอาการหูดับขึ้น 
 
โดยมักจะเป็นกับหูทั้งสองข้าง หากเกิดขึ้นแล้ว ผู้ป่วยจะไม่ สามารถได้ยินอีก จัดเป็นภาวะรีบด่วนที่ผู้ป่วยควรต้องได้รับการผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมเพื่อฟื้นฟูการได้ยิน ซึ่งจะทําให้ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะกลับมาสื่อสารในแบบสังคมปกติได้อีก ครั้ง ภาวะหูดับจากโรคไข้หูดับ จัดเป็นภาวะที่สมควรได้รับการวินิจฉัยได้โดยเร็ว เนื่องจากสมองที่ไม่ได้รับการกระตุ้นจากเสียง จะเสียความสามารถในการรับฟังไปเรื่อย ๆ ยิ่ง นานวัน โอกาสฟื้นฟูก็จะยิ่งลดลงทําให้โอกาสความสําเร็จหลังการผ่าตัดลดลง และอีกปัจจัยที่สําคัญมากคือ ภาวะไข้หูดับ มีโอกาสที่จะเกิดการตีบตันของท่อนําเสียงในกระดูก ก้นหอยสูงมาก จึงควรพิจารณาการรักษาอย่างเร็วไว เพราะหากท่อนําเสียงในกระดูกก้นหอยตีบตันไปแล้ว การผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมแบบมาตรฐานก็จะไม่สามารถทําได้เลย
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
 
Pigatron 13
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!