Menu Close

กฎกระทรวงมาตรฐานบังคับ GAP ฟาร์มสุกร

บังคับ GAP ฟาร์มสุกร

กฎกระทรวงมาตรฐานบังคับ GAP ฟาร์มสุกร 

ลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว

ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร สำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ พ.ศ. 2566

 

อำศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 15 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับแก่ฟาร์มสุกรที่มิใช่ฟาร์มสุกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน การเลี้ยงระบบปศุสัตว์อินทรีย์และหมูหลุมจากกรมปศุสัตว์ ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 500 ตัว ถึง 1,499 ตัว หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัว ถึง 119 ตัว เมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 1,500 ตัวขึ้นไป หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 120 ตัวขึ้นไป ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

 

ข้อ 2 ให้มาตรฐานสินค้าเกษตร เลขที่ มกษ. 6403 – 2565 ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เป็นมาตรฐานบังคับ ให้ไว้ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2566

ประภัตร โพธสุธน

Temp controller

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันการเลี้ยงสุกรได้รับความนิยมจากเกษตรกรไทยเป็นจำนวนมาก ทั้งที่เลี้ยงไว้เพื่อการบริโภคหรือเพื่อการพาณิชย์ จึงจำเป็นต้องยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรที่มีการเลี้ยงสุกรขุนตั้งแต่ 500 ตัวขึ้นไปหรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัวขึ้นไป เพื่อให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในความปลอดภัยของเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรป้องกันปัญหาสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่สำคัญในสุกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์สุกรของประเทศไทยอย่างยั่งยืน

 

ในการนี้ ได้มีประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 และได้มีการดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของตัวแทนของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องครบถ้วนตามความในมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตรพ.ศ. 2551 แล้ว สมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรสำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

 
ราชกิจจานุเบกษา
GAP ฟาร์มสุกร

Product

 
กฎกระทรวงมาตรฐานบังคับ GAP ฟาร์มสุกร 
ลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร สำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ พ.ศ. 2566
อำศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 15 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับแก่ฟาร์มสุกรที่มิใช่ฟาร์มสุกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน การเลี้ยงระบบปศุสัตว์อินทรีย์และหมูหลุมจากกรมปศุสัตว์ ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 500 ตัว ถึง 1,499 ตัว หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัว ถึง 119 ตัว เมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 1,500 ตัวขึ้นไป หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 120 ตัวขึ้นไป ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 
ข้อ 2 ให้มาตรฐานสินค้าเกษตร เลขที่ มกษ. 6403 – 2565 ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เป็นมาตรฐานบังคับ ให้ไว้ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2566
Temp controller
 
ประภัตร โพธสุธน
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
 
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันการเลี้ยงสุกรได้รับความนิยมจากเกษตรกรไทยเป็นจำนวนมาก ทั้งที่เลี้ยงไว้เพื่อการบริโภคหรือเพื่อการพาณิชย์ จึงจำเป็นต้องยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรที่มีการเลี้ยงสุกรขุนตั้งแต่ 500 ตัวขึ้นไปหรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัวขึ้นไป เพื่อให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในความปลอดภัยของเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรป้องกันปัญหาสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่สำคัญในสุกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาผลกระทบต่อสิ่ง
 
แวดล้อม และเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์สุกรของประเทศไทยอย่างยั่งยืน
ในการนี้ ได้มีประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 และได้มีการดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของตัวแทนของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องครบถ้วนตามความในมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตรพ.ศ. 2551 แล้ว สมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรสำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
ราชกิจจานุเบกษา
GAP ฟาร์มสุกร
 
 
 
กฎกระทรวงมาตรฐานบังคับ GAP ฟาร์มสุกร 
ลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร สำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ พ.ศ. 2566
 
อำศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 15 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับแก่ฟาร์มสุกรที่มิใช่ฟาร์มสุกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน การเลี้ยงระบบปศุสัตว์อินทรีย์และหมูหลุมจากกรมปศุสัตว์ ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 500 ตัว ถึง 1,499 ตัว หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัว ถึง 119 ตัว เมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่ที่เลี้ยงสุกรขุน ตั้งแต่ 1,500 ตัวขึ้นไป หรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 120 ตัวขึ้นไป ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 
ข้อ 2 ให้มาตรฐานสินค้าเกษตร เลขที่ มกษ. 6403 – 2565 ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เป็นมาตรฐานบังคับ ให้ไว้ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2566
 
Temp controller
 
ประภัตร โพธสุธน
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
 
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันการเลี้ยงสุกรได้รับความนิยมจากเกษตรกรไทยเป็นจำนวนมาก ทั้งที่เลี้ยงไว้เพื่อการบริโภคหรือเพื่อการพาณิชย์ จึงจำเป็นต้องยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรที่มีการเลี้ยงสุกรขุนตั้งแต่ 500 ตัวขึ้นไปหรือเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ ตั้งแต่ 95 ตัวขึ้นไป เพื่อให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในความปลอดภัยของเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรป้องกันปัญหาสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่สำคัญในสุกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์สุกรของประเทศไทยอย่างยั่งยืน
 
ในการนี้ ได้มีประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 และได้มีการดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของตัวแทนของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องครบถ้วนตามความในมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตรพ.ศ. 2551 แล้ว สมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรสำหรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกรเป็นมาตรฐานบังคับ จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
 
ราชกิจจานุเบกษา
GAP ฟาร์มสุกร
 
 
Pigatron 13
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!