Menu Close

โรค “ASF” อหิวาต์แอฟริกาในหมู ( African Swine Fever )

โรค ‘ASF’ อหิวาต์แอฟริกาในหมู ( African Swine Fever )

ASF ในหมู.

วันนี้เรามารู้จัก ภัยร้ายที่กำลังทำลายเศรษฐกิจของไทยอยู่ ณ เวลานี้

.
😈African swine fever (ASF) หรือไทยเรียกว่า โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร เป็นโรคที่สามารถเผยแพร่ในหมู่ สุกรทุกเพศทุกวัย สามารถแพร่กระจายเชื้อได้อย่างรวดเร็ว และสามารถคงอยู่ในสภาวะแวดล้อมต่างๆได้ยาวนาน แม้สุกรที่ติดเชื้อจะตายแล้วก็ตาม อัตราการป่วย = 100% และอัตราการตายอยู่ที่ 30%-100% และในลูกสุกรจะมีอัตราการตายสูงถึง 80%-100% ภายใน 14 วัน
.
อย่างไรก็ตามโรค ASF ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ และสัตว์อื่นๆที่ไม่ใช่สุกร แต่มนุษย์และสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น เห็บหรือแมลงวัน เป็นตัวนำพาเชื้อเข้าไปแพร่กระจายแก่สุกรโดยไม่รู้ตัว และเมื่อเกิดการติดเชื้อภายในโรงเรือนแล้ว แน่นอนว่ากลายเป็นเรื่องใหญ่แน่นอน เพราะในปัจจุบัน ยังไม่มียารักษาหรือวัคซีนป้องกันโรคให้แก่สุกร เมื่อเกิดการติดเชื้อขึ้นมา สิ่งที่ต้องทำคือการทำลายสุกรที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อทันที เพื่อไม่ให้เชื้อนั้นลุกลาม 
เป็นเหตุให้ผู้เลี้ยงหมูรายย่อยหลายราย ตกอยู่ในภาวะลำบาก เนื่องจากไม่สามารถส่งออกหมูได้ และสูญเสียรายได้เป็นจำนวนมาก บวกกับผู้ผลิตรายย่อยหลายรายไม่สามารถปรับตัวกับต้นทุนการเลี้ยงที่เกิดขึ้นใหม่ตามมาตรฐานของหน่วยงานกรมปศุสัตว์
ทำให้ผู้ผลิตรายยย่อยไม่สามารถแบกรับต้นทุนไว้ได้ 
ส่งผลให้ราคาของหมูในตลาดสูงขึ้น ร้านขายหมูสด และร้านอาหารจำเป็นต้องขึ้นราคา 
.
💥ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวะภาพอย่างเคร่งครัด รวมถึงการเลี้ยงสุกรในระบบโรงเรือนปิด (EVAP) สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคแก่ฝูงสัตว์ได้ 
.
✅ทางเรา สยามวอเตอร์เฟลม เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือนเลี้ยงไก่/สุกร ในนาม ✨Temp Climate Controller ✨
สำหรับในโรงเรือนเลี้ยงหมูเราขอแนะนำเป็น Temp Pigatron 13 ตอบโจย์ทุกการเลี้ยงสุกร ด้วยฟังชั่นที่มีประโยชน์มากมาย
ASF
 

โรค ASF “อหิวาต์แอฟริกาในหมู” คือ โรคอะไร?

ASF ย่อมาจาก African Swine Fever หรือโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู เป็นโรคติดเชื้อรุนแรงในหมูที่เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่ม Asfivirus เป็น DNA virus  ที่มีความคงทนสูงในสภาพแวดล้อม โดยอยู่ในสภาพแวดล้อมได้นาน และอยู่ในเนื้อหมูแช่แข็งได้หลายปี หมายเหตุ ASF (โรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู) กับ CSF(โรคอหิวาต์หมู)
โรค ASF ไม่ใช่โรคเดียวกับโรคอหิวาต์หมู หรือ Classical Swine Fever (CSF) ซึ่ง CSF เป็นโรค RNA virus ในหมู มีวัคซีนป้องกันได้
 
โรค ASF คือโรคอะไร?
     ASF ย่อมาจาก African Swine Fever หรือ  โรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู เป็นโรคติดเชื้อรุนแรงในหมูที่เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่ม Asfivirus เป็น DNA virus ที่มีความคงทนสูงในสภาพแวดล้อม โดยอยู่ในสภาพแวดล้อมได้นาน และอยู่ในเนื้อหมูแช่แข็งได้หลายปี
โรค ASF ติดคนหรือสัตว์อื่นหรือไม่?
     โรค ASF ติดในสัตว์ประเภทหมู เท่านั้น ทั้งหมูเลี้ยง และหมูป่า (#ไม่ติดคน !!! คนกินเนื้อหมูที่เป็นโรคดังกล่าวก็ไม่มีอันตราย)
หมูติดเชื้อ ASF ได้อย่างไร?
      หมูมักติดเชื้อ ASF จากการกินเศษอาหารที่มีเชื้อโรคเข้าไป และการสัมผัสเชื้อที่ปนเปื้อนมากับคน สิ่งของ รถขนส่ง และสัตว์พาหะ ซึ่งสัตว์พาหะที่สามารถนำโรคได้โดยตรง ได้แก่ เห็บอ่อน ที่พบในทวีปแอฟริกาและยุโรปเท่านั้น ไม่พบในประเทศไทย (#ยังไม่มีรายงานว่าเชื้อโรค ASF สามารถติดต่อกันได้โดยผ่านทางอากาศ)
เชื้อ ASF อยู่ในสภาพแวดล้อมได้นานแค่ไหน?
เชื้อโรค ASF มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อม ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
– อยู่ในมูลหมู และสิ่งแวดล้อม ได้ประมาณ 1 เดือน
– อยู่ในซากสัตว์ และในดินได้ถึง 3 เดือน
– อยู่ในเนื้อแปรรูป เนื้อแห้ง ได้ถึง 1 ปี
– อยู่ในเนื้อแช่แข็งได้ถึง 3 ปี
( *เชื้อนี้ไม่ตายในกระบวนการผลิตอาหารแบบไม่สุก และอยู่รอดในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ )
Temp Pigatron 13
จะฆ่าเชื้อโรค ASF ได้อย่างไร?
        เชื้อโรค ASF สามารถตายด้วยความร้อน 60°C ใช้เวลาประมาณ 30 นาที และมีรายงานการทดสอบยาฆ่าเชื้อส่วนใหญ่สามารถฆ่าเชื้อ ASF ได้ ตามอัตราส่วนที่บริษัทผู้ผลิตแนะนำ หรือโดยทั่วไปจะใข้ 1:200 เช่น Glutaraldehyde, Phenol, Iodine, Chlorine เป็นต้น โดยมีระยะเวลาหลังฆ่าเชื้อประมาณ 5-30 นาที
 
อาการและรอยโรค ASF เป็นอย่างไร?
หมูที่ติดเชื้อจะมีอาการไข้สูง จุดเลือดออก อาเจียน ถ่ายเป็นเลือด และตายเกือบ 100% โดยหมูจะแสดงอาการหลังติดเชื้อประมาณ 3-4 วัน
 
โรค ASF มีการระบาดที่ไหนบ้าง ส่วนประเทศไทยมีโรคนี้ระบาดหรือไม่?
     พบการระบาดครั้งแรกที่ประเทศเคนย่า ทวีปแอฟริกาเมื่อปี 2464 (ที่มาของชื่อ ASF) ปัจจุปันมีการระบาดแพร่ไปยังทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย สำหรับทวีปเอเชีย พบการระบาดครั้งแรกที่จีนเมื่อเดือนสิงหาคม 2018 ปัจจุบันได้แพร่ออกไปสู่มองโกเลีย เวียดนาม กัมพูชา และล่าสุดที่ประเทศเกาหลีเหนือ รวม 5 ประเทศ
 
จะรู้ได้อย่างไรว่าหมูที่ป่วยเป็นโรค ASF?
     สามารถวินิจฉัยเบื้องต้นจากอาการและรอยโรค และทดสอบด้วยวิธี ASF Rapid test โดยหยดเลือดสดลงบน Testkit แล้วอ่านผล ส่วนการยืนยันผลควรใช้วิธี ASF-ELISA สำหรับตรวจภูมิคุมกัน ซึ่งจะให้ผลบวกเมื่อหมูติดเชื้อไปแล้วมากกว่า 7-14วัน และวิธีตรวจ ASF-PCR สำหรับตรวจเชื้อไวรัสในกระเเสเลือดและเนื้อเยื่อในร่างกายหมู ซึ่งจะให้ผลบวกเมื่อหมูติดเชื้อไปแล้วมากกว่า 3 วัน
 
โรค ASF มียารักษาและวัคซีนป้องกันหรือไม่?
     ปัจจุบันยังไม่มียารักษาและวัคซีนป้องกัน ขณะนี้มีนักวิทยาศาสตร์กำลังทดลองเกี่ยวกับยาต้านไวรัส และวัคซีนป้องกันโรค ASF ในหลายๆ ประเทศ เช่น สเปน จีน สหรัฐอเมริกา อังกฤษและเกาหลีใต้ ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลากว่าจะประสบความสำเร็จ
 
เราจะมีวิธีการป้องกันและควบคุมโรค ASF ได้อย่างไร?
การป้องกันโรค ASF สามารถทำได้ 3 ระดับดังนี้
1) การป้องกันโรคระหว่างประเทศ (International biosecurity) การห้ามนำเข้าเนื้อและวัตถุดิบจากประเทศที่เกิดโรค การตรวจโรคจากผลิตภัณฑ์ที่สนามบิน ทางเรือโดยสาร ตามด่านทางการเข้า-ออกระหว่างชายแดน ไม่ให้นำเนื้อและผลิตภัณฑ์หมูจากประเทศที่มีการระบาดเข้าประเทศไทย เป็นต้น
2) การป้องกันโรคภายในประเทศหรือระหว่างฟาร์ม หรือจากหน่วยงานภายนอกฟาร์ม (External biosecurity) เช่น โรงงานอาหารสัตว์ โรงฆ่าสัตว์ บริษัทยาสัตว์ บริษัทอุปกรณ์เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
3) การป้องกันโรคระดับฟาร์ม (Farm biosecurity) ฟาร์มหมูที่มีระบบป้องกันโรคที่ดีต้องปฏิบัติตาม 10 ข้อห้าม (บทความ) และ 10 ข้อปฏิบัติ (บทความ) ในการป้องกันโรค ASF เช่น การไม่นำเศษอาหารเลี้ยงหมู การอาบน้ำเปลี่ยนชุดเข้าฟาร์มของพนักงาน การพ่นยาฆ่าเชื้อรถขนส่ง การล้างพ่นยาฆ่าเชื้อโรงเรือน การป้องกันและกำจัดสัตว์พาหะ
ชอบคุณข้อมูล :: สำนักงานปศุสัตว์เขต 7
ภาพประกอบ :: Osvaldo Castillo
วันนี้เรามารู้จัก ภัยร้ายที่กำลังทำลายเศรษฐกิจ
ของไทยอยู่ ณ เวลานี้
.
😈African swine fever (ASF) หรือไทยเรียกว่า โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร เป็นโรคที่สามารถเผยแพร่ในหมู่ สุกรทุกเพศทุกวัย สามารถแพร่กระจายเชื้อได้อย่างรวดเร็ว และสามารถคงอยู่ในสภาวะแวดล้อมต่างๆได้ยาวนาน แม้สุกรที่ติดเชื้อจะตายแล้วก็ตาม อัตราการป่วย = 100% และอัตราการตายอยู่ที่ 30%-100% และในลูกสุกรจะมีอัตราการตายสูงถึง 80%-100% ภายใน 14 วัน
.
อย่างไรก็ตามโรค ASF ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ และสัตว์อื่นๆที่ไม่ใช่สุกร แต่มนุษย์และสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น เห็บหรือแมลงวัน เป็นตัวนำพาเชื้อเข้าไปแพร่กระจายแก่สุกรโดยไม่รู้ตัว และเมื่อเกิดการติดเชื้อภายในโรงเรือนแล้ว แน่นอนว่ากลายเป็นเรื่องใหญ่แน่นอน เพราะในปัจจุบัน ยังไม่มียารักษาหรือวัคซีนป้องกันโรคให้แก่สุกร เมื่อเกิดการติดเชื้อขึ้นมา สิ่งที่ต้องทำคือการทำลายสุกรที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อทันที เพื่อไม่ให้เชื้อนั้นลุกลาม 
เป็นเหตุให้ผู้เลี้ยงหมูรายย่อยหลายราย ตกอยู่ในภาวะลำบาก เนื่องจากไม่สามารถส่งออกหมูได้ และสูญเสียรายได้เป็นจำนวนมาก บวกกับผู้ผลิตรายย่อยหลายรายไม่สามารถปรับตัวกับต้นทุนการเลี้ยงที่เกิดขึ้นใหม่ตามมาตรฐานของหน่วยงานกรมปศุสัตว์
ทำให้ผู้ผลิตรายยย่อยไม่สามารถแบกรับต้นทุนไว้ได้ 
ส่งผลให้ราคาของหมูในตลาดสูงขึ้น ร้านขายหมูสด และร้านอาหารจำเป็นต้องขึ้นราคา 
.
💥ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวะภาพอย่างเคร่งครัด รวมถึงการเลี้ยงสุกรในระบบโรงเรือนปิด (EVAP) สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคแก่ฝูงสัตว์ได้ 
.
✅ทางเรา สยามวอเตอร์เฟลม เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือนเลี้ยงไก่/สุกร ในนาม ✨Temp Climate Controller ✨
สำหรับในโรงเรือนเลี้ยงหมูเราขอแนะนำเป็น Temp Pigatron 13 ตอบโจย์ทุกการเลี้ยงสุกร ด้วยฟังชั่นที่มีประโยชน์มากมาย
ASF
 

โรค ASF คือโรคอะไร?

ASF ย่อมาจาก African Swine Fever หรือโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู เป็นโรคติดเชื้อรุนแรงในหมูที่เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่ม Asfivirus เป็น DNA virus  ที่มีความคงทนสูงในสภาพแวดล้อม โดยอยู่ในสภาพแวดล้อมได้นาน และอยู่ในเนื้อหมูแช่แข็งได้หลายปี หมายเหตุ ASF (โรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู) กับ CSF(โรคอหิวาต์หมู)
โรค ASF ไม่ใช่โรคเดียวกับโรคอหิวาต์หมู หรือ Classical Swine Fever (CSF) ซึ่ง CSF เป็นโรค RNA virus ในหมู มีวัคซีนป้องกันได้
 
โรค ASF คือโรคอะไร?
     ASF ย่อมาจาก African Swine Fever หรือ  โรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู เป็นโรคติดเชื้อรุนแรงในหมูที่เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่ม Asfivirus เป็น DNA virus ที่มีความคงทนสูงในสภาพแวดล้อม โดยอยู่ในสภาพแวดล้อมได้นาน และอยู่ในเนื้อหมูแช่แข็งได้หลายปี
โรค ASF ติดคนหรือสัตว์อื่นหรือไม่?
     โรค ASF ติดในสัตว์ประเภทหมู เท่านั้น ทั้งหมูเลี้ยง และหมูป่า (#ไม่ติดคน !!! คนกินเนื้อหมูที่เป็นโรคดังกล่าวก็ไม่มีอันตราย)
หมูติดเชื้อ ASF ได้อย่างไร?
      หมูมักติดเชื้อ ASF จากการกินเศษอาหารที่มีเชื้อโรคเข้าไป และการสัมผัสเชื้อที่ปนเปื้อนมากับคน สิ่งของ รถขนส่ง และสัตว์พาหะ ซึ่งสัตว์พาหะที่สามารถนำโรคได้โดยตรง ได้แก่ เห็บอ่อน ที่พบในทวีปแอฟริกาและยุโรปเท่านั้น ไม่พบในประเทศไทย (#ยังไม่มีรายงานว่าเชื้อโรค ASF สามารถติดต่อกันได้โดยผ่านทางอากาศ)
เชื้อ ASF อยู่ในสภาพแวดล้อมได้นานแค่ไหน?
เชื้อโรค ASF มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อม ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
– อยู่ในมูลหมู และสิ่งแวดล้อม ได้ประมาณ 1 เดือน
– อยู่ในซากสัตว์ และในดินได้ถึง 3 เดือน
– อยู่ในเนื้อแปรรูป เนื้อแห้ง ได้ถึง 1 ปี
– อยู่ในเนื้อแช่แข็งได้ถึง 3 ปี
( *เชื้อนี้ไม่ตายในกระบวนการผลิตอาหารแบบไม่สุก และอยู่รอดในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ )
จะฆ่าเชื้อโรค ASF ได้อย่างไร?
        เชื้อโรค ASF สามารถตายด้วยความร้อน 60°C ใช้เวลาประมาณ 30 นาที และมีรายงานการทดสอบยาฆ่าเชื้อส่วนใหญ่สามารถฆ่าเชื้อ ASF ได้ ตามอัตราส่วนที่บริษัทผู้ผลิตแนะนำ หรือโดยทั่วไปจะใข้ 1:200 เช่น Glutaraldehyde, Phenol, Iodine, Chlorine เป็นต้น โดยมีระยะเวลาหลังฆ่าเชื้อประมาณ 5-30 นาที
 

Temp Pigatron 13

อาการและรอยโรค ASF เป็นอย่างไร?
หมูที่ติดเชื้อจะมีอาการไข้สูง จุดเลือดออก อาเจียน ถ่ายเป็นเลือด และตายเกือบ 100% โดยหมูจะแสดงอาการหลังติดเชื้อประมาณ 3-4 วัน
 
โรค ASF มีการระบาดที่ไหนบ้าง ส่วนประเทศไทยมีโรคนี้ระบาดหรือไม่?
     พบการระบาดครั้งแรกที่ประเทศเคนย่า ทวีปแอฟริกาเมื่อปี 2464 (ที่มาของชื่อ ASF) ปัจจุปันมีการระบาดแพร่ไปยังทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย สำหรับทวีปเอเชีย พบการระบาดครั้งแรกที่จีนเมื่อเดือนสิงหาคม 2018 ปัจจุบันได้แพร่ออกไปสู่มองโกเลีย เวียดนาม กัมพูชา และล่าสุดที่ประเทศเกาหลีเหนือ รวม 5 ประเทศ
 
จะรู้ได้อย่างไรว่าหมูที่ป่วยเป็นโรค ASF?
     สามารถวินิจฉัยเบื้องต้นจากอาการและรอยโรค และทดสอบด้วยวิธี ASF Rapid test โดยหยดเลือดสดลงบน Testkit แล้วอ่านผล ส่วนการยืนยันผลควรใช้วิธี ASF-ELISA สำหรับตรวจภูมิคุมกัน ซึ่งจะให้ผลบวกเมื่อหมูติดเชื้อไปแล้วมากกว่า 7-14วัน และวิธีตรวจ ASF-PCR สำหรับตรวจเชื้อไวรัสในกระเเสเลือดและเนื้อเยื่อในร่างกายหมู ซึ่งจะให้ผลบวกเมื่อหมูติดเชื้อไปแล้วมากกว่า 3 วัน
 
โรค ASF มียารักษาและวัคซีนป้องกันหรือไม่?
     ปัจจุบันยังไม่มียารักษาและวัคซีนป้องกัน ขณะนี้มีนักวิทยาศาสตร์กำลังทดลองเกี่ยวกับยาต้านไวรัส และวัคซีนป้องกันโรค ASF ในหลายๆ ประเทศ เช่น สเปน จีน สหรัฐอเมริกา อังกฤษและเกาหลีใต้ ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลากว่าจะประสบความสำเร็จ
 
เราจะมีวิธีการป้องกันและควบคุมโรค ASF ได้อย่างไร?
การป้องกันโรค ASF สามารถทำได้ 3 ระดับดังนี้
1) การป้องกันโรคระหว่างประเทศ (International biosecurity) การห้ามนำเข้าเนื้อและวัตถุดิบจากประเทศที่เกิดโรค การตรวจโรคจากผลิตภัณฑ์ที่สนามบิน ทางเรือโดยสาร ตามด่านทางการเข้า-ออกระหว่างชายแดน ไม่ให้นำเนื้อและผลิตภัณฑ์หมูจากประเทศที่มีการระบาดเข้าประเทศไทย เป็นต้น
2) การป้องกันโรคภายในประเทศหรือระหว่างฟาร์ม หรือจากหน่วยงานภายนอกฟาร์ม (External biosecurity) เช่น โรงงานอาหารสัตว์ โรงฆ่าสัตว์ บริษัทยาสัตว์ บริษัทอุปกรณ์เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
3) การป้องกันโรคระดับฟาร์ม (Farm biosecurity) ฟาร์มหมูที่มีระบบป้องกันโรคที่ดีต้องปฏิบัติตาม 10 ข้อห้าม (บทความ) และ 10 ข้อปฏิบัติ (บทความ) ในการป้องกันโรค ASF เช่น การไม่นำเศษอาหารเลี้ยงหมู การอาบน้ำเปลี่ยนชุดเข้าฟาร์มของพนักงาน การพ่นยาฆ่าเชื้อรถขนส่ง การล้างพ่นยาฆ่าเชื้อโรงเรือน การป้องกันและกำจัดสัตว์พาหะ
ชอบคุณข้อมูล :: สำนักงานปศุสัตว์เขต 7
ภาพประกอบ :: Osvaldo Castillo
TEMP CONTROLLER
 
 
🔥ฉีกทุกกฏการเลี้ยง ให้เป็นเรื่องง่ายแค่ปลายนิ้วของคุณ

💥  Temp Pigatron 13  !!💥

⚡อิสระ⚡ ในการตั้งโปรแกรมอุณหภูมิสำหรับพัดลม, ป๊มน้ำ และฮีตเตอร์ ตามอายุของสัตว์เลี้ยงได้
⚡อิสระ⚡ ในการเลือก เปิด/ปิด พัดลม ตามวันและเวลาได้
📣ไม่พลาดทุกเหตุการณ์ เพื่อให้การเลี้ยงของคุณเป็นไปอย่างราบรื่น
✅ด้วยระบบ เก็บข้อมูลค่าสูงสุดหรือต่ำสุดของอุณหภูมิและความชื้น
✅ระบบแจ้งเตือนเมื่อมีความผิดปกติของ อุณภูมิ, ความชื้น และเซนเซอร์
📣เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
👇👇👇Click the link below for more information👇👇👇
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller  #piggy #farm  #smartfarm #temperaturecontroller #pigfarm  #climate #humiditycontroller #controller  #carbondioxide #ammonia  #sensors #automaticcontroller  #chicken #pig #ฟาร์ม  #ฟาร์มไก่  #ฟาร์มหมู #สมาร์ทฟาร์ม  #เลี้ยงไก่  #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ  #คอนโทรลเลอร์  #เซนเซอร์อุณหภูมิ  #เซนเซอร์ความชื้น
 
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!