Menu Close

แอมโมเนียส่งผลกระทบต่อสัตว์ปีกอย่างไร

แอมโมเนียส่งผลกระทบต่อสัตว์ปีกอย่างไร

แอมโมเนียส่งผลกระทบต่อสัตว์ปีกอย่างไร

    งานวิจัยเกี่ยวกับสัตว์ปีกที่ศึกษาผลกระทบจากระดับแอมโมเนียต่อผลผลิตในสัตว์ปีกหลายชิ้นให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันออกไป โดยงานวิจัยบางกลุ่มเตือนว่าระดับสูงสุดควรอยู่ที่ไม่เกิน 25 ppm แต่อีกกลุ่มกล่าวว่าการปล่อยให้สัตว์ปีกได้รับก๊าซในระดับ 20 ppm เป็นเวลานานอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและระบบทางเดินหายใจเสียหาย เป็นต้น อีกงานวิจัยหนึ่งระบุว่า เมื่อสัตว์ปีกสามารถเลือกอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียแตกต่างกันได้ สัตว์จะเลือกสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียต่ำกว่า 11 ppm

 

#เซนเซอร์วัดแอมโมเนีย   #เซนเซอร์แอมโมเนีย

สารแอมโมเนียเป็นพิษต่อสัตว์ แอมโมเนียในระดับสูงอาจทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดหลายประการ เช่น อาการหายใจติดขัด, ระคายเคืองหลอดลม, ถุงลมอักเสบ, เยื่อเมือกดวงตาอักเสบ หรือหลายอาการรวมกัน ความเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ไม่เด่นชัดมากนักอาจเกิดจากการได้รับแอมโมเนียในระดับที่ต่ำกว่า การศึกษาหลายชิ้นพบว่าการได้รับแอมโมเนีย 20-25 ppm ตลอดช่วงการผลิต ส่งผลให้สัตว์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน (จากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย) ได้มากขึ้น, ประสิทธิภาพการใช้อาหารลดลง และเนื้อเยื่อเกิดความเสียหาย ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดขึ้นกับไก่เนื้อที่สัมผัสกับแอมโมเนียในระดับ 20-30 ppm เป็นเวลา 16-28 วัน 

temp controller

จากการศึกษาไก่งวงพบว่า ในบรรดาสัตว์ปีกที่ได้รับเชื้อ E. coli นั้น กลุ่มที่ได้รับแอมโมเนียในระดับตั้งแต่ 10-40 ppm จะมีแบคทีเรียในปอดมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับแอมโมเนีย สำหรับในกลุ่มไก่ไข่ มีคำเตือนว่าการได้รับแอมโมเนียตั้งแต่ระยะแรกอาจทำให้เกิดผลกระทบอย่างยาวนาน ซึ่งอาจส่งผลต่อผลผลิตของไก่รุ่นเพศเมียเมื่อเป็นแม่ไก่ไข่ในภายหลัง นอกจากนั้น การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูงอย่างต่อเนื่องอาจทำให้ไก่ไข่มีผลผลิตไข่ตกต่ำอีกด้วย

 

ส่วนในระดับจุลทรรศน์ นักวิจัยพบว่าการสัมผัสแอมโมเนียอาจกระตุ้นให้สัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่างๆ โดยสำหรับสัตว์ปีกแล้ว การได้รับแอมโมเนียระดับสูงเป็นเวลา 20 วัน ทำให้พื้นผิวลำไส้มีขนาดเล็กลง (ซึ่งอาจส่งผลต่อการดูดซึมสารอาหาร), ลดความสามารถในการต้านทานภาวะเครียดออกซิเดชันในสัตว์, ความสามารถในการย่อยสารอาหารของระบบทางเดินอาหารลดลง และกระทบต่ออวัยวะต่างๆ ในระบบภูมิคุ้มกัน การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูง แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็อาจส่งผลต่อสัตว์ได้มากเทียบเท่ากับการสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นปานกลางในระยะเวลาที่นานกว่า

 

อันตรายจากแอมโมเนียเข้มข้นที่กระทบต่อสัตว์ปีกและมนุษย์

5 ppm ระดับต่ำสุดที่รู้สึกได้
6 ppm ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ
11 ppm ผลผลิตสัตว์ตกต่ำลง
25 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 1 ชั่วโมง
35 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 10 นาที
40 ppm มนุษย์เกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ และไม่อยากอาหาร
50 ppm ผลผลิตและสุขภาพสัตว์ตกต่ำอย่างรุนแรง และเพิ่มความเป็นไปได้ที่จะเป็นโรคปอดอักเสบ
100 ppm สัตว์เกิดอาการจาม น้ำลายไหล และระคายเคืองเยื่อเมือก
300 ppm หรือมากกว่า เป็นอันตรายฉับพลันต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์

Ammonia sensor
 

• Input Voltage: 12 VDC
• Power Consumption : < 10 watts
• Output Voltage: 0-10 VDC
• Output Impedance: 16 Ohms .
• Ammonia Range: 0-100 ppm.
• Operating Temperature: -25 to +70°C
• Accuract: 0-100 ppm +/-3% of Reading
• Sensor Element Type: MEMS
• Max. Cable Length: 150 Meter

 

#TempView #Controller #temp #Rtron #Alarm #SENSOR

 

#เซนเซอร์วัดแอมโมเนีย   #เซนเซอร์แอมโมเนีย

 

แอมโมเนียส่งผลกระทบต่อสัตว์ปีกอย่างไร

    งานวิจัยเกี่ยวกับสัตว์ปีกที่ศึกษาผลกระทบจากระดับแอมโมเนียต่อผลผลิตในสัตว์ปีกหลายชิ้นให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันออกไป โดยงานวิจัยบางกลุ่มเตือนว่าระดับสูงสุดควรอยู่ที่ไม่เกิน 25 ppm แต่อีกกลุ่มกล่าวว่าการปล่อยให้สัตว์ปีกได้รับก๊าซในระดับ 20 ppm เป็นเวลานานอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและระบบทางเดินหายใจเสียหาย เป็นต้น อีกงานวิจัยหนึ่งระบุว่า เมื่อสัตว์ปีกสามารถเลือกอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียแตกต่างกันได้ สัตว์จะเลือกสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียต่ำกว่า 11 ppm
 
สารแอมโมเนียเป็นพิษต่อสัตว์ แอมโมเนียในระดับสูงอาจทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดหลายประการ เช่น อาการหายใจติดขัด, ระคายเคืองหลอดลม, ถุงลมอักเสบ, เยื่อเมือกดวงตาอักเสบ หรือหลายอาการรวมกัน ความเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ไม่เด่นชัดมากนักอาจเกิดจากการได้รับแอมโมเนียในระดับที่ต่ำกว่า การศึกษาหลายชิ้นพบว่าการได้รับแอมโมเนีย 20-25 ppm ตลอดช่วงการผลิต ส่งผลให้สัตว์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน (จากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย) ได้มากขึ้น, ประสิทธิภาพการใช้อาหารลดลง และเนื้อเยื่อเกิดความเสียหาย ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดขึ้นกับไก่เนื้อที่สัมผัสกับแอมโมเนียในระดับ 20-30 ppm เป็นเวลา 16-28 วัน 

temp controller

จากการศึกษาไก่งวงพบว่า ในบรรดาสัตว์ปีกที่ได้รับเชื้อ E. coli นั้น กลุ่มที่ได้รับแอมโมเนียในระดับตั้งแต่ 10-40 ppm จะมีแบคทีเรียในปอดมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับแอมโมเนีย สำหรับในกลุ่มไก่ไข่ มีคำเตือนว่าการได้รับแอมโมเนียตั้งแต่ระยะแรกอาจทำให้เกิดผลกระทบอย่างยาวนาน ซึ่งอาจส่งผลต่อผลผลิตของไก่รุ่นเพศเมียเมื่อเป็นแม่ไก่ไข่ในภายหลัง นอกจากนั้น การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูงอย่างต่อเนื่องอาจทำให้ไก่ไข่มีผลผลิตไข่ตกต่ำอีกด้วย
 
ส่วนในระดับจุลทรรศน์ นักวิจัยพบว่าการสัมผัสแอมโมเนียอาจกระตุ้นให้สัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่างๆ โดยสำหรับสัตว์ปีกแล้ว การได้รับแอมโมเนียระดับสูงเป็นเวลา 20 วัน ทำให้พื้นผิวลำไส้มีขนาดเล็กลง (ซึ่งอาจส่งผลต่อการดูดซึมสารอาหาร), ลดความสามารถในการต้านทานภาวะเครียดออกซิเดชันในสัตว์, ความสามารถในการย่อยสารอาหารของระบบทางเดินอาหารลดลง และกระทบต่ออวัยวะต่างๆ ในระบบภูมิคุ้มกัน การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูง แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็อาจส่งผลต่อสัตว์ได้มากเทียบเท่ากับการสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นปานกลางในระยะเวลาที่นานกว่า
 
 
อันตรายจากแอมโมเนียเข้มข้นที่กระทบต่อสัตว์ปีกและมนุษย์
5 ppm ระดับต่ำสุดที่รู้สึกได้
6 ppm ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ
11 ppm ผลผลิตสัตว์ตกต่ำลง
25 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 1 ชั่วโมง
35 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 10 นาที
40 ppm มนุษย์เกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ และไม่อยากอาหาร
50 ppm ผลผลิตและสุขภาพสัตว์ตกต่ำอย่างรุนแรง และเพิ่มความเป็นไปได้ที่จะเป็นโรคปอดอักเสบ
100 ppm สัตว์เกิดอาการจาม น้ำลายไหล และระคายเคืองเยื่อเมือก
300 ppm หรือมากกว่า เป็นอันตรายฉับพลันต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์

 

Ammonia sensor
 
• Input Voltage: 12 VDC
• Power Consumption : < 10 watts
• Output Voltage: 0-10 VDC
• Output Impedance: 16 Ohms .
• Ammonia Range: 0-100 ppm.
• Operating Temperature: -25 to +70°C
• Accuract: 0-100 ppm +/-3% of Reading
• Sensor Element Type: MEMS
• Max. Cable Length: 150 Meter
 
#TempView #Controller #temp #Rtron #Alarm #SENSOR
#เซนเซอร์วัดแอมโมเนีย   #เซนเซอร์แอมโมเนีย
 

แอมโมเนียส่งผลกระทบต่อสัตว์ปีกอย่างไร

 
    งานวิจัยเกี่ยวกับสัตว์ปีกที่ศึกษาผลกระทบจากระดับแอมโมเนียต่อผลผลิตในสัตว์ปีกหลายชิ้นให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันออกไป โดยงานวิจัยบางกลุ่มเตือนว่าระดับสูงสุดควรอยู่ที่ไม่เกิน 25 ppm แต่อีกกลุ่มกล่าวว่าการปล่อยให้สัตว์ปีกได้รับก๊าซในระดับ 20 ppm เป็นเวลานานอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและระบบทางเดินหายใจเสียหาย เป็นต้น อีกงานวิจัยหนึ่งระบุว่า เมื่อสัตว์ปีกสามารถเลือกอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียแตกต่างกันได้ สัตว์จะเลือกสภาพแวดล้อมที่มีระดับแอมโมเนียต่ำกว่า 11 ppm
 
สารแอมโมเนียเป็นพิษต่อสัตว์ แอมโมเนียในระดับสูงอาจทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดหลายประการ เช่น อาการหายใจติดขัด, ระคายเคืองหลอดลม, ถุงลมอักเสบ, เยื่อเมือกดวงตาอักเสบ หรือหลายอาการรวมกัน ความเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ไม่เด่นชัดมากนักอาจเกิดจากการได้รับแอมโมเนียในระดับที่ต่ำกว่า การศึกษาหลายชิ้นพบว่าการได้รับแอมโมเนีย 20-25 ppm ตลอดช่วงการผลิต ส่งผลให้สัตว์มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน (จากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย) ได้มากขึ้น, ประสิทธิภาพการใช้อาหารลดลง และเนื้อเยื่อเกิดความเสียหาย ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดขึ้นกับไก่เนื้อที่สัมผัสกับแอมโมเนียในระดับ 20-30 ppm เป็นเวลา 16-28 วัน 

temp controller

จากการศึกษาไก่งวงพบว่า ในบรรดาสัตว์ปีกที่ได้รับเชื้อ E. coli นั้น กลุ่มที่ได้รับแอมโมเนียในระดับตั้งแต่ 10-40 ppm จะมีแบคทีเรียในปอดมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับแอมโมเนีย สำหรับในกลุ่มไก่ไข่ มีคำเตือนว่าการได้รับแอมโมเนียตั้งแต่ระยะแรกอาจทำให้เกิดผลกระทบอย่างยาวนาน ซึ่งอาจส่งผลต่อผลผลิตของไก่รุ่นเพศเมียเมื่อเป็นแม่ไก่ไข่ในภายหลัง นอกจากนั้น การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูงอย่างต่อเนื่องอาจทำให้ไก่ไข่มีผลผลิตไข่ตกต่ำอีกด้วย
 
ส่วนในระดับจุลทรรศน์ นักวิจัยพบว่าการสัมผัสแอมโมเนียอาจกระตุ้นให้สัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่างๆ โดยสำหรับสัตว์ปีกแล้ว การได้รับแอมโมเนียระดับสูงเป็นเวลา 20 วัน ทำให้พื้นผิวลำไส้มีขนาดเล็กลง (ซึ่งอาจส่งผลต่อการดูดซึมสารอาหาร), ลดความสามารถในการต้านทานภาวะเครียดออกซิเดชันในสัตว์, ความสามารถในการย่อยสารอาหารของระบบทางเดินอาหารลดลง และกระทบต่ออวัยวะต่างๆ ในระบบภูมิคุ้มกัน การสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นสูง แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็อาจส่งผลต่อสัตว์ได้มากเทียบเท่ากับการสัมผัสแอมโมเนียความเข้มข้นปานกลางในระยะเวลาที่นานกว่า
 
อันตรายจากแอมโมเนียเข้มข้นที่กระทบต่อสัตว์ปีกและมนุษย์
5 ppm ระดับต่ำสุดที่รู้สึกได้
6 ppm ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ
11 ppm ผลผลิตสัตว์ตกต่ำลง
25 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 1 ชั่วโมง
35 ppm ระดับการสัมผัสสูงสุดที่ยอมรับได้ในเวลา 10 นาที
40 ppm มนุษย์เกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ และไม่อยากอาหาร
50 ppm ผลผลิตและสุขภาพสัตว์ตกต่ำอย่างรุนแรง และเพิ่มความเป็นไปได้ที่จะเป็นโรคปอดอักเสบ
100 ppm สัตว์เกิดอาการจาม น้ำลายไหล และระคายเคืองเยื่อเมือก
300 ppm หรือมากกว่า เป็นอันตรายฉับพลันต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์
 
 
Ammonia sensor
 
• Input Voltage: 12 VDC
• Power Consumption : < 10 watts
• Output Voltage: 0-10 VDC
• Output Impedance: 16 Ohms .
• Ammonia Range: 0-100 ppm.
• Operating Temperature: -25 to +70°C
• Accuract: 0-100 ppm +/-3% of Reading
• Sensor Element Type: MEMS
• Max. Cable Length: 150 Meter
 
#TempView #Controller #temp #Rtron #Alarm #SENSOR
 #เซนเซอร์วัดแอมโมเนีย   #เซนเซอร์แอมโมเนีย
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!