Menu Close

สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566

สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566

 

สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566

การผลิต

ปี 2561 – 2565 ภาพรวมการผลิตไข่ไก่ของประเทศ ไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.08

 – ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,043.47 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,324.42 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.83 ซึ่งเป็นผลจากการดําเนินมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่โดยการปรับสมดุลผลผลิตให้

– เหมาะสมกับความต้องการบริโภคภายในประเทศของ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์

 

1 (Egg Board)

1.2 การตลาด

(1) ความต้องการบริโภค

ปี 2561 – 2565 การบริโภคไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.17 ต่อปี เนื่องจากเมื่อ เทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่นแล้วไข่ไก่มีราคาถูกและ

– สามารถปรุงอาหารได้ง่าย โดยในปี 2565 มีปริมาณการ บริโภคไข่ไก่ 14,802.80 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,063.82 1 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.73 ซึ่งเป็นผลมาจาก ราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวตามภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น

 

(2) การส่งออก

การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด

– และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่

Temp controller

 

1) การส่งออกไข่ไก่สด

ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกไข่ไก่สดมี แนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.76 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.67 ล้านฟอง ลดลง จากปริมาณ 260.60 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 7.65 ในขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 914.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จาก 800.55 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกที่สําคัญของไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31 ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ตามลําดับ

 

2) การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่

– ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.51 ต่อปี โดย

ในปี2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 13.93 ตามลําดับ ผลิตภัณฑ์ที่ ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สําคัญ คือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และกัมพูชา โดยมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมตามลําดับ

 

(3) การนําเข้า

ปี 2561 – 2565 ปริมาณการนําเข้าผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10.00 ต่อปี โดย ในปี 2565 มีการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลงจากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 10.65 ในขณะที่มีมูลค่าการนําเข้า 1,130.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 753.40 ล้านบาทของปี 2564 ร้อยละ 50.04 โดยผลิตภัณฑ์ที่นําเข้าจะใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในประเทศและส่งออก ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีการนําเข้ามากที่สุด คือ ไข่ขาวผง โดย แหล่งนําเข้าที่สําคัญ คือ จีน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการนําเข้าร้อยละ 23.23 ร้อยละ 19.09 และร้อยละ 15.93 ของปริมาณนําเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด (4) ราคา

 

1) ราคาที่เกษตรกรขายได้

ปี 2561 – 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.02 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 2.83 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะ ค่าอาหารสัตว์ และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบกับมาตรการ รักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ

 

2) ราคาส่งออก

ปี 2561 – 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.85 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออก ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 5.83 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉลี่ย ฟองละ 3.80 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 3.07 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 2.36 สําหรับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18

 

Temp controller

3) ราคานําเข้า

ปี 2561 – 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.92 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 215,168 บาท เพิ่มขึ้นจากตันละ 128,137 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 67.92

 

แนวโน้ม ปี 2566

การผลิต

ปี 2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,197.64 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 15,043.47 ล้านฟอง ของปี 2565 ร้อยละ 1.02 ตามความต้องการบริโภคที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพ

มากขึ้น ทําให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

 

การตลาด

ความต้องการบริโภค

ปี 2566 คาดว่าปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้น จากปี 2565 จากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและ บริการ ประกอบกับไข่ไก่สามารถทําเมนูอาหารได้ง่าย และหลากหลายประเภท รวมทั้งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์

ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ

คุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่ เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง ปี 2566 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์

2565 เนื่อง จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี จากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาด รวมทั้งประเทศคู่ค้าที่สําคัญ อาทิ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง มีความต้องการนําเข้าไข่ไก่จากไทยเพิ่มขึ้น 

 

การนําเข้า ส่งออก

ปี 2566 คาดว่าการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะ ทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูป อาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้

Temp controller

ราคา

ปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย

ทั้งประเทศจะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2565 เนื่องจากมีการ จัดทําแผนการนําเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้งต้นทุนการผลิตที่ ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และบริการทําให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น

(1)ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด สภาพอากาศที่แปรปรวนมีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจทําให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผล ให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้

(2) หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการ

รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมีการ จัดกิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อ ประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ของไข่ไก่ และรณรงค์ส่งเสริม การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหัน มาบริโภคใข่ไก่มากขึ้น

(3) ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น จากภาวะสงคราม ระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบอาหาร สัตว์ และราคาน้ํามันเชื้อเพลิง.

 
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
tempclimatecontroller
 

สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566

การผลิต
ปี 2561 – 2565 ภาพรวมการผลิตไข่ไก่ของประเทศ ไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.08
 – ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,043.47 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,324.42 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.83 ซึ่งเป็นผลจากการดําเนินมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่โดยการปรับสมดุลผลผลิตให้
– เหมาะสมกับความต้องการบริโภคภายในประเทศของ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์
 
1 (Egg Board)
1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2561 – 2565 การบริโภคไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.17 ต่อปี เนื่องจากเมื่อ เทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่นแล้วไข่ไก่มีราคาถูกและ
– สามารถปรุงอาหารได้ง่าย โดยในปี 2565 มีปริมาณการ บริโภคไข่ไก่ 14,802.80 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,063.82 1 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.73 ซึ่งเป็นผลมาจาก ราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวตามภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น
 
(2) การส่งออก
การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด
– และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่

Temp controller

1) การส่งออกไข่ไก่สด
ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกไข่ไก่สดมี แนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.76 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.67 ล้านฟอง ลดลง จากปริมาณ 260.60 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 7.65 ในขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 914.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จาก 800.55 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกที่สําคัญของไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31 ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ตามลําดับ
 
2) การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
– ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.51 ต่อปี โดย
ในปี2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 13.93 ตามลําดับ ผลิตภัณฑ์ที่ ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สําคัญ คือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และกัมพูชา โดยมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมตามลําดับ
 
(3) การนําเข้า
ปี 2561 – 2565 ปริมาณการนําเข้าผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10.00 ต่อปี โดย ในปี 2565 มีการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลงจากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 10.65 ในขณะที่มีมูลค่าการนําเข้า 1,130.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 753.40 ล้านบาทของปี 2564 ร้อยละ 50.04 โดยผลิตภัณฑ์ที่นําเข้าจะใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในประเทศและส่งออก ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีการนําเข้ามากที่สุด คือ ไข่ขาวผง โดย แหล่งนําเข้าที่สําคัญ คือ จีน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการนําเข้าร้อยละ 23.23 ร้อยละ 19.09 และร้อยละ 15.93 ของปริมาณนําเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด (4) ราคา

Temp controller

1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2561 – 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.02 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 2.83 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะ ค่าอาหารสัตว์ และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบกับมาตรการ รักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ
 
2) ราคาส่งออก
ปี 2561 – 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.85 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออก ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 5.83 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉลี่ย ฟองละ 3.80 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 3.07 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 2.36 สําหรับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18
 
3) ราคานําเข้า
ปี 2561 – 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.92 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 215,168 บาท เพิ่มขึ้นจากตันละ 128,137 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 67.92
 
แนวโน้ม ปี 2566
การผลิต
ปี 2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,197.64 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 15,043.47 ล้านฟอง ของปี 2565 ร้อยละ 1.02 ตามความต้องการบริโภคที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น ทําให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
 
การตลาด
ความต้องการบริโภค
ปี 2566 คาดว่าปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้น จากปี 2565 จากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและ บริการ ประกอบกับไข่ไก่สามารถทําเมนูอาหารได้ง่าย และหลากหลายประเภท รวมทั้งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์
ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ
คุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่ เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง ปี 2566 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์
2565 เนื่อง จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี จากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาด รวมทั้งประเทศคู่ค้าที่สําคัญ อาทิ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง มีความต้องการนําเข้าไข่ไก่จากไทยเพิ่มขึ้น 
 
การนําเข้า ส่งออก
ปี 2566 คาดว่าการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะ ทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูป อาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้

Temp controller

ราคา
ปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย
ทั้งประเทศจะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2565 เนื่องจากมีการ จัดทําแผนการนําเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้งต้นทุนการผลิตที่ ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และบริการทําให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น
 
(1)ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด สภาพอากาศที่แปรปรวนมีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจทําให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผล ให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้
 
(2) หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการ
รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมีการ จัดกิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อ ประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ของไข่ไก่ และรณรงค์ส่งเสริม การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหัน มาบริโภคใข่ไก่มากขึ้น
 
(3) ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น จากภาวะสงคราม ระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบอาหาร สัตว์ และราคาน้ํามันเชื้อเพลิง.
 
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
tempclimatecontroller
 
 
สถานการณ์ไข่ไก่ ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566
การผลิต
 
ปี 2561 – 2565 ภาพรวมการผลิตไข่ไก่ของประเทศ ไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.08
 
 – ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,043.47 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,324.42 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.83 ซึ่งเป็นผลจากการดําเนินมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่โดยการปรับสมดุลผลผลิตให้
– เหมาะสมกับความต้องการบริโภคภายในประเทศของ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์
 
1 (Egg Board)
1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2561 – 2565 การบริโภคไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.17 ต่อปี เนื่องจากเมื่อ เทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่นแล้วไข่ไก่มีราคาถูกและ
– สามารถปรุงอาหารได้ง่าย โดยในปี 2565 มีปริมาณการ บริโภคไข่ไก่ 14,802.80 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,063.82 1 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.73 ซึ่งเป็นผลมาจาก ราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวตามภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น
 
(2) การส่งออก
การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด
– และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
 

Temp controller

1) การส่งออกไข่ไก่สด
ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกไข่ไก่สดมี แนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.76 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.67 ล้านฟอง ลดลง จากปริมาณ 260.60 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 7.65 ในขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 914.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จาก 800.55 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกที่สําคัญของไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31 ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ตามลําดับ
 
2) การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
 
– ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.51 ต่อปี โดย
ในปี2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 13.93 ตามลําดับ ผลิตภัณฑ์ที่ ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สําคัญ คือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และกัมพูชา โดยมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมตามลําดับ
 
(3) การนําเข้า
ปี 2561 – 2565 ปริมาณการนําเข้าผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10.00 ต่อปี โดย ในปี 2565 มีการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลงจากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 10.65 ในขณะที่มีมูลค่าการนําเข้า 1,130.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 753.40 ล้านบาทของปี 2564 ร้อยละ 50.04 โดยผลิตภัณฑ์ที่นําเข้าจะใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในประเทศและส่งออก ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีการนําเข้ามากที่สุด คือ ไข่ขาวผง โดย แหล่งนําเข้าที่สําคัญ คือ จีน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการนําเข้าร้อยละ 23.23 ร้อยละ 19.09 และร้อยละ 15.93 ของปริมาณนําเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด (4) ราคา
 
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2561 – 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.02 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 2.83 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะ ค่าอาหารสัตว์ และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบกับมาตรการ รักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ

Temp controller

2) ราคาส่งออก
ปี 2561 – 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.85 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออก ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 5.83 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉลี่ย ฟองละ 3.80 บาท สูงขึ้นจากฟองละ 3.07 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 2.36 สําหรับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18
 
3) ราคานําเข้า
ปี 2561 – 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.92 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคานําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 215,168 บาท เพิ่มขึ้นจากตันละ 128,137 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 67.92
 
แนวโน้ม ปี 2566
การผลิต
ปี 2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,197.64 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 15,043.47 ล้านฟอง ของปี 2565 ร้อยละ 1.02 ตามความต้องการบริโภคที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น ทําให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
 
การตลาด
ความต้องการบริโภค
ปี 2566 คาดว่าปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้น จากปี 2565 จากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและ บริการ ประกอบกับไข่ไก่สามารถทําเมนูอาหารได้ง่าย และหลากหลายประเภท รวมทั้งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์
 
ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ
คุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่ เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง ปี 2566 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์
 
2565 เนื่อง จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี จากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาด รวมทั้งประเทศคู่ค้าที่สําคัญ อาทิ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง มีความต้องการนําเข้าไข่ไก่จากไทยเพิ่มขึ้น 
 
การนําเข้า ส่งออก
 
ปี 2566 คาดว่าการนําเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะ ทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูป อาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้
 

Temp controller

ราคา
 
ปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย
ทั้งประเทศจะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2565 เนื่องจากมีการ จัดทําแผนการนําเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้งต้นทุนการผลิตที่ ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และบริการทําให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น
(1)ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด สภาพอากาศที่แปรปรวนมีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจทําให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผล ให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้
 
(2) หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการ
รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมีการ จัดกิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อ ประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ของไข่ไก่ และรณรงค์ส่งเสริม การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหัน มาบริโภคใข่ไก่มากขึ้น
 
(3) ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น จากภาวะสงคราม ระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบอาหาร สัตว์ และราคาน้ํามันเชื้อเพลิง.
 
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
tempclimatecontroller
Temp controller
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!