Menu Close
วิตามินซีกับสุขภาพสัตว์นํ้า

ความสำคัญและหน้าที่ของวิตามินซีต่อสัตว์น้ำ

วิตามินซีเป็นวิตามินที่ละลายน้ำที่มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำเช่นเดียวกับคน เพราะสัตว์น้ำไม่สามารถสังเคราะห์วิตามินซี ได้ เนื่องจากขาดเอนไซม์ แอลกูโลโนแลคโตน-ออกซิเดส (L-gulonolactone oxidase)จึงจำเป็นต้องมีการเสริมวิตามินซีในอาหารสัตว์น้ำ
 
      หน้าที่ของวิตามินซีส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการดำรงชีวิตสัตว์น้ำหลายอย่าง เช่น การสร้างภูมิคุ้มกัน การสร้างฮอร์โมน ขบวนการดูดซับแร่ธาตุและสารอาหาร และขบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ในขบวนการเมตาบอลิซึมวิตามินซีจะทำหน้าที่เป็น Co- factor ของเอนไซม์ Propyl และ Lysyl hydroxylase ในขบวนการ Hydroxylation ของProline และ Lysine อันเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะสร้าง Hydroxyproline และ Hydroxylysineซึ่งจะนำไปสังเคราะห์ Collagen ซึ่งจำเป็นสาหรับการสร้างโครงสร้างของร่างกายในลูกสัตว์น้ำวัยอ่อน
 

ปัจจัยความต้องการวิตามินซีของสัตว์น้ำ

1. ชนิดของสัตว์น้ำ : ความต้องการวิตามินซีของลูกปลากะพงขาวในน้ำเค็ม พบว่าระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 500 – 700 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร ส่วนความต้องการวิตามินซีของปลากดเหลือง พบว่า ระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต คือ 500 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร
 
2. อายุของสัตว์น้ำ : สัตว์น้ำวัยอ่อนจะมีความต้องการวิตามินซีมาก เมื่ออายุสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นความต้องการวิตามินซีจะลดลง
 
3. คุณภาพของอาหาร : หากในอาหารเม็ดที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำมีไขมันสูง วิตามินซีจะทำหน้าที่เป็นสารป้องกันความหืน หากเติมวิตามินซีในอาหารไม่เพียงพอ ก็จะทำให้วิตามินซีจะถูกนำไปใช้ในการป้องกันความหืนหมดก่อนที่จะนำไปเลี้ยงสัตว์น้ำ
 

ลักษณะของสัตว์น้ำที่ขาดวิตามินซี

สัตว์น้ำที่ได้รับวิตามินซีไม่เพียงพอจะแสดงอาการผิดปกติ ดังนี้
– การเจริญเติบโตช้าลง ลำตัวสีดำ เซื่องซึม ตกเลือดบริเวณเหงือก เส้นเลือดเปราะ กระพุ้งแก้มปิดเปิดเร็วและสั้น จะงอยปากสั้น เสียการทรงตัว ครีบหางกร่อน ตาโปน
– กระดูกสันหลังคดงอ (Scoliosis)เนื่องจากความไม่แข็งแรงของคอลลาเจน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สำคัญของกระดูกและกระดูกอ่อน
– ระบบภูมิคุ้มกันลดลง ทำให้สัตว์น้ำมีความสามารถในการต้านทานต่อการติดเชื้อจากโรคต่าง ๆ ลดลง
บางครั้งพบว่า แม้ผู้เลี้ยงจะใช้วิตามินซีที่ใช้เติมในอาหารสัตว์น้ำแล้ว แต่สัตว์น้ำยังคงประสบปัญหาขาดวิตามินซี เนื่องจากวิตามินซีมักจะไม่คงทน และสามารถถูกทำลายได้ง่ายในระหว่างกระบวนการผลิตอาหาร การเก็บรักษาอาหารและระหว่างการให้อาหารสัตว์น้ำ
 
ดังนั้นทำให้มีการพัฒนาการผลิตวิตามินซี รูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในด้านอาหารสัตว์ น้ำมากขึ้น เช่น วิตามินซีเคลือบ (Coated vitamin C) ซึ่งจะมี การเคลือบด้วย ethyl cellulose, silicone, gelatin, glyceride และไขมันเป็นต้น อย่างไรก็ตามวิตามินซีที่เคลือบไขมันก็ยังถูกทำลายได้ง่ายภายใต้กระบวนการอัดเม็ดและกระบวนการผลิตที่มีความชื้นและใช้อุณหภูมิสูง อาจส่งผลให้ไขมันที่เคลือบละลายจนเสียสภาพ ดังนั้นจึงมีการพัฒนารูปแบบของวิตามินซี เป็นวิตามินซีอนุพันธ์ (vitamin C derivative) เช่น L-ascorbyl-2-polyphosphate , L-ascorbyl-2-monophosphate , L-ascorbyl-2-sulfate เป็นต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียวิตามินซีในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์น้ำ ทั้งยังช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตอาหารสัตว์น้ำ
จะเห็นได้ว่าวิตามินซีเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการทำให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีความคุ้มทุน เนื่องจาก
ทำให้สัตว์น้ำมีการเจริญเติบโตที่ดีมีอัตรารอดสูงมีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ช่วยต้านเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
ทนทานต่อความเครียด ด้วยเหตุนี้จึงไม่ต้องสงสัยว่าทำไมระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำจึงจำเป็นต้องมีการเสริมเสริมวิตามินซีควบคู่ไปด้วยนั่นเอง
 
 

ความสำคัญและหน้าที่ของวิตามินซีต่อสัตว์น้ำ

วิตามินซีเป็นวิตามินที่ละลายน้ำที่มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำเช่นเดียวกับคน เพราะสัตว์น้ำไม่สามารถสังเคราะห์วิตามินซี ได้ เนื่องจากขาดเอนไซม์ แอลกูโลโนแลคโตน-ออกซิเดส (L-gulonolactone oxidase)จึงจำเป็นต้องมีการเสริมวิตามินซีในอาหารสัตว์น้ำ
 
      หน้าที่ของวิตามินซีส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการดำรงชีวิตสัตว์น้ำหลายอย่าง เช่น การสร้างภูมิคุ้มกัน การสร้างฮอร์โมน ขบวนการดูดซับแร่ธาตุและสารอาหาร และขบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ในขบวนการเมตาบอลิซึมวิตามินซีจะทำหน้าที่เป็น Co- factor ของเอนไซม์ Propyl และ Lysyl hydroxylase ในขบวนการ Hydroxylation ของProline และ Lysine อันเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะสร้าง Hydroxyproline และ Hydroxylysineซึ่งจะนำไปสังเคราะห์ Collagen ซึ่งจำเป็นสาหรับการสร้างโครงสร้างของร่างกายในลูกสัตว์น้ำวัยอ่อน
 

ปัจจัยความต้องการวิตามินซีของสัตว์น้ำ

1. ชนิดของสัตว์น้ำ : ความต้องการวิตามินซีของลูกปลากะพงขาวในน้ำเค็ม พบว่าระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 500 – 700 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร ส่วนความต้องการวิตามินซีของปลากดเหลือง พบว่า ระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต คือ 500 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร
2. อายุของสัตว์น้ำ : สัตว์น้ำวัยอ่อนจะมีความต้องการวิตามินซีมาก เมื่ออายุสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นความต้องการวิตามินซีจะลดลง
3. คุณภาพของอาหาร : หากในอาหารเม็ดที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำมีไขมันสูง วิตามินซีจะทำหน้าที่เป็นสารป้องกันความหืน หากเติมวิตามินซีในอาหารไม่เพียงพอ ก็จะทำให้วิตามินซีจะถูกนำไปใช้ในการป้องกันความหืนหมดก่อนที่จะนำไปเลี้ยงสัตว์น้ำ
 

ลักษณะของสัตว์น้ำที่ขาดวิตามินซี

สัตว์น้ำที่ได้รับวิตามินซีไม่เพียงพอจะแสดงอาการผิดปกติ ดังนี้
– การเจริญเติบโตช้าลง ลำตัวสีดำ เซื่องซึม ตกเลือดบริเวณเหงือก เส้นเลือดเปราะ กระพุ้งแก้มปิดเปิดเร็วและสั้น จะงอยปากสั้น เสียการทรงตัว ครีบหางกร่อน ตาโปน
– กระดูกสันหลังคดงอ (Scoliosis)เนื่องจากความไม่แข็งแรงของคอลลาเจน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สำคัญของกระดูกและกระดูกอ่อน
– ระบบภูมิคุ้มกันลดลง ทำให้สัตว์น้ำมีความสามารถในการต้านทานต่อการติดเชื้อจากโรคต่าง ๆ ลดลง
บางครั้งพบว่า แม้ผู้เลี้ยงจะใช้วิตามินซีที่ใช้เติมในอาหารสัตว์น้ำแล้ว แต่สัตว์น้ำยังคงประสบปัญหาขาดวิตามินซี เนื่องจากวิตามินซีมักจะไม่คงทน และสามารถถูกทำลายได้ง่ายในระหว่างกระบวนการผลิตอาหาร การเก็บรักษาอาหารและระหว่างการให้อาหารสัตว์น้ำ
 
ดังนั้นทำให้มีการพัฒนาการผลิตวิตามินซี รูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในด้านอาหารสัตว์ น้ำมากขึ้น เช่น วิตามินซีเคลือบ (Coated vitamin C) ซึ่งจะมี การเคลือบด้วย ethyl cellulose, silicone, gelatin, glyceride และไขมันเป็นต้น อย่างไรก็ตามวิตามินซีที่เคลือบไขมันก็ยังถูกทำลายได้ง่ายภายใต้กระบวนการอัดเม็ดและกระบวนการผลิตที่มีความชื้นและใช้อุณหภูมิสูง อาจส่งผลให้ไขมันที่เคลือบละลายจนเสียสภาพ ดังนั้นจึงมีการพัฒนารูปแบบของวิตามินซี เป็นวิตามินซีอนุพันธ์ (vitamin C derivative) เช่น L-ascorbyl-2-polyphosphate , L-ascorbyl-2-monophosphate , L-ascorbyl-2-sulfate เป็นต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียวิตามินซีในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์น้ำ ทั้งยังช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตอาหารสัตว์น้ำ
 
จะเห็นได้ว่าวิตามินซีเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการทำให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีความคุ้มทุน เนื่องจาก
ทำให้สัตว์น้ำมีการเจริญเติบโตที่ดีมีอัตรารอดสูงมีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ช่วยต้านเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
ทนทานต่อความเครียด ด้วยเหตุนี้จึงไม่ต้องสงสัยว่าทำไมระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำจึงจำเป็นต้องมีการเสริมเสริมวิตามินซีควบคู่ไปด้วยนั่นเอง
 

ความสำคัญและหน้าที่ของวิตามินซีต่อสัตว์น้ำ

วิตามินซีเป็นวิตามินที่ละลายน้ำที่มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำเช่นเดียวกับคน เพราะสัตว์น้ำไม่สามารถสังเคราะห์วิตามินซี ได้ เนื่องจากขาดเอนไซม์ แอลกูโลโนแลคโตน-ออกซิเดส (L-gulonolactone oxidase)จึงจำเป็นต้องมีการเสริมวิตามินซีในอาหารสัตว์น้ำ
 
      หน้าที่ของวิตามินซีส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการดำรงชีวิตสัตว์น้ำหลายอย่าง เช่น การสร้างภูมิคุ้มกัน การสร้างฮอร์โมน ขบวนการดูดซับแร่ธาตุและสารอาหาร และขบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ในขบวนการเมตาบอลิซึมวิตามินซีจะทำหน้าที่เป็น Co- factor ของเอนไซม์ Propyl และ Lysyl hydroxylase ในขบวนการ
 
 Hydroxylation ของProline และ Lysine อันเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะสร้าง Hydroxyproline และ Hydroxylysineซึ่งจะนำไปสังเคราะห์ Collagen ซึ่งจำเป็นสาหรับการสร้างโครงสร้างของร่างกายในลูกสัตว์น้ำวัยอ่อน
 

ปัจจัยความต้องการวิตามินซีของสัตว์น้ำ

1. ชนิดของสัตว์น้ำ : ความต้องการวิตามินซีของลูกปลากะพงขาวในน้ำเค็ม พบว่าระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 500 – 700 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร ส่วนความต้องการวิตามินซีของปลากดเหลือง พบว่า ระดับวิตามินซี ในอาหารที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต คือ 500 มิลลิกรัม /กิโลกรัมอาหาร
 
2. อายุของสัตว์น้ำ : สัตว์น้ำวัยอ่อนจะมีความต้องการวิตามินซีมาก เมื่ออายุสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นความต้องการวิตามินซีจะลดลง
 
3. คุณภาพของอาหาร : หากในอาหารเม็ดที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำมีไขมันสูง วิตามินซีจะทำหน้าที่เป็นสารป้องกันความหืน หากเติมวิตามินซีในอาหารไม่เพียงพอ ก็จะทำให้วิตามินซีจะถูกนำไปใช้ในการป้องกันความหืนหมดก่อนที่จะนำไปเลี้ยงสัตว์น้ำ
 

ลักษณะของสัตว์น้ำที่ขาดวิตามินซี

สัตว์น้ำที่ได้รับวิตามินซีไม่เพียงพอจะแสดงอาการผิดปกติ ดังนี้
– การเจริญเติบโตช้าลง ลำตัวสีดำ เซื่องซึม ตกเลือดบริเวณเหงือก เส้นเลือดเปราะ กระพุ้งแก้มปิดเปิดเร็วและสั้น จะงอยปากสั้น เสียการทรงตัว ครีบหางกร่อน ตาโปน
 
– กระดูกสันหลังคดงอ (Scoliosis)เนื่องจากความไม่แข็งแรงของคอลลาเจน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สำคัญของกระดูกและกระดูกอ่อน
– ระบบภูมิคุ้มกันลดลง ทำให้สัตว์น้ำมีความสามารถในการต้านทานต่อการติดเชื้อจากโรคต่าง ๆ ลดลง
 
บางครั้งพบว่า แม้ผู้เลี้ยงจะใช้วิตามินซีที่ใช้เติมในอาหารสัตว์น้ำแล้ว แต่สัตว์น้ำยังคงประสบปัญหาขาดวิตามินซี เนื่องจากวิตามินซีมักจะไม่คงทน และสามารถถูกทำลายได้ง่ายในระหว่างกระบวนการผลิตอาหาร การเก็บรักษาอาหารและระหว่างการให้อาหารสัตว์น้ำ
 
ดังนั้นทำให้มีการพัฒนาการผลิตวิตามินซี รูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในด้านอาหารสัตว์ น้ำมากขึ้น เช่น วิตามินซีเคลือบ (Coated vitamin C) ซึ่งจะมี การเคลือบด้วย ethyl cellulose, silicone, gelatin, glyceride และไขมันเป็นต้น อย่างไรก็ตามวิตามินซีที่เคลือบไขมันก็ยังถูกทำลายได้ง่ายภายใต้กระบวนการอัดเม็ดและกระบวนการผลิตที่มีความชื้นและใช้อุณหภูมิสูง อาจส่งผลให้ไขมันที่เคลือบละลายจนเสียสภาพ ดังนั้นจึงมีการพัฒนารูปแบบของวิตามินซี เป็นวิตามินซีอนุพันธ์ (vitamin C derivative) เช่น L-ascorbyl-2-polyphosphate , L-ascorbyl-2-monophosphate , L-ascorbyl-2-sulfate เป็นต้น เพื่อป้องกันการสูญเสียวิตามินซีในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์น้ำ ทั้งยังช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตอาหารสัตว์น้ำ
 
จะเห็นได้ว่าวิตามินซีเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการทำให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีความคุ้มทุน เนื่องจาก
 
ทำให้สัตว์น้ำมีการเจริญเติบโตที่ดีมีอัตรารอดสูงมีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ช่วยต้านเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
 
ทนทานต่อความเครียด ด้วยเหตุนี้จึงไม่ต้องสงสัยว่าทำไมระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำจึงจำเป็นต้องมีการเสริมเสริมวิตามินซีควบคู่ไปด้วยนั่นเอง
 
 
FISHOTRON 10
FISHOTRON 10

ชุดควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ในบ่อเลี้ยง ปลา/กุ้ง

 

รุ่น Fishotron 10

   -เพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยง
   -ลดการสูญเสีย
   -ลดแรงงานในการเลี้ยง
   -เพิ่มกำไร
 
คุณสมบัติ
1.โปรแกรมเติมอากาศ
   -สามารถควบคุม 1-6 ตัว
   -ตั้งเวลา เปิด-ปิด 12 ครั้ง/วัน
   -เปลี่ยนรูปแบบได้ 12 ช่วงอายุ

2.โปรแกรมให้อาหาร
   -สาารถควบคุมแบบ Start/stop และAuto/manual
   -ตั้งเวลา เปิด-ปิด 12 ครั้ง /วัน
   -เปลี่ยนรูปแบบได้ 12 ช่วงอายุ

3.โปรแกรมดูดของเสีย
   -ตั้งเวลา เปิด-ปิด 24 ครั้ง/วัน
   -เปลี่ยนรูปแบบได้ 12 ช่วงอายุ
4.วัดค่าอุณภูมิ
5.วัดค่าออกซิเจนในน้ำ
6.วัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ในน้ำ
7.วัดค่าระดับน้ำ
 
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!