Menu Close

อาหารไก่ ทำเอง

อาหารไก่ สูตร ทำเอง

สูตร อาหารไก่ ทำเอง

       สำหรับการเลี้ยงไก่ในบ้าน อาหารไก่ นับเป็นอีกสิ่งที่สำคัญ เพื่อให้ไก่เจริญเติบโตเต็มที่ ออกไข่สม่ำเสมอ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ สุวรรณโสภี ผู้เขียนหนังสือคู่มือเลี้ยงไก่ในบ้าน สร้างเล้าไก่ในฝัน แนะนำวิธีให้อาหารไก่ว่าไก่ต้องได้รับอาหารที่มีโภชนะเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต
โดยผู้เลี้ยงสามารถใช้ อาหารไก่ สำเร็จรูป ผสมร่วมกับการใช้วัตถุดิบอื่นที่มีราคาถูกได้ วิธีการสังเกตว่าไก่ได้รับอาหารเพียงพอหรือไม่ให้ สามารถพิจารณาจากปริมาณอาหารที่ไก่กินเหลือในแต่ละวัน แสดงถึงการให้อาหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการในแต่ละวัน ผู้เลี้ยงควรปรับลดปริมาณอาหารที่ให้ต่อมื้อ เพื่อให้อาหารไก่มีความสดใหม่ทุกครั้งที่ให้ และลดความเสี่ยงจากการได้รับอาหารที่ปนเปื้อนมูลไก่และจุลินทรีย์ต่าง ๆ
 
       การเข้าถึงอาหารของไก่ หลังจากเทอาหารลงในที่ให้อาหาร โดยในช่วงแรกไก่ทุกตัวจะเข้าแย่งอาหาร จากนั้นจะเริ่มกินอาหารช้าลง และแยกตัวออกไปคุ้ยเขี่ยอาหารบนพื้นคอก ลักษณะเช่นนี้แสดงให้ทราบว่า ไก่ได้รับปริมาณอาหารเพียงพอต่อความต้องการแล้วความต้องการอาหารของไก่ในแต่ละช่วงอายุมีความแตกต่างกัน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของอาหารที่ให้ โดยไก่ที่เลี้ยงในบริเวณบ้านมีความต้องการพลังงานสำหรับการดำรงชีวิตน้อยกว่าไก่เชิงการค้า การเลี้ยงไก่ในบริเวณบ้านไม่เน้นการให้ผลผลิตจำนวนมาก และให้ไก่มีการเจริญเติบโตตามปกติ ปริมาณอาหารที่ใช้จึงเป็นเรื่องเฉพาะของผู้เลี้ยงแต่ละคน โดยยึดหลักสำคัญคือ ไก่ที่เลี้ยงมีสุขภาพแข็งแรง และแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และ มีความสมบูรณ์พันธุ์ สามารถให้ผลผลิตได้อย่างต่อเนื่อง กรณีที่ผู้เลี้ยงต้องการใช้อาหารผสมสำเร็จร่วมกับวัตถุดิบอาหารที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น สามารถทำได้โดยจัดการให้อาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และความสมบูรณ์พันธุ์เป็นหลัก คือ ให้อาหารผสมในช่วงเช้า และเสริมวัตถุดิบอาหารอื่น ๆ ในช่วงบ่าย ทั้งนี้ ควรสังเกตการเจริญเติบโต และสุขภาพของไก่ควบคู่กันด้วย
Temp controller

ประเภทวัตถุดิบอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่

อาหารประเภทแป้ง ไก่นำไปใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต เช่น การเดิน การวิ่ง และการหายใจ เป็นต้น อาหารที่จัดอยู่ในประเภทนี้ เช่น รำข้าว ปลายข้าว ข้าวโพด ข้าวเปลือก และกากมันสำปะหลัง เป็นต้น
 
อาหารประเภทโปรตีน ไก่ใช้ประโยชน์ในการสร้างขน เล็บ เลือด เนื้อ และหนัง ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารประเภทแมลง ไส้เดือน ปลวก และปลาป่น
 
อาหารประเภทไขมัน ไก่นำไปใช้สร้างความร้อนและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย วัตถุดิบอาหารประเภทนี้ ได้แก่ กากถั่วเหลือง กากมะพร้าว ไขมันสัตว์ น้ำมันหมู และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทวิตามิน ถูกนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย ความกระปรี้กระเปร่า การสร้างภูมิคุ้มกันโรค และบำรุงระบบประสาท ซึ่งวัตถุดิบอาหารวิตามิน ได้แก่ หญ้าใบเขียว ใบกระถิน ข้าวโพด รำข้าว และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทแร่ธาตุ ไก่ต้องการแร่ธาตุเพื่อนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรง เช่น กระดูก เลือด และเปลือกไข่ โดยแร่ธาตุที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่น เปลือยหอยบ่น และกระดูกป่น เป็นต้น
น้ำ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดในร่างกาย หากร่างกายไก่ขาดน้ำจะทำให้ไก่ตายภายใน 24 ชั่วโมง ดังนั้น ผู้เลี้ยงจึงควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดเวลา
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 2 รอบ เช้า-เย็น เช้า 8.00-8.30 น. เย็น 16.30 น. ไก่ไข่จำเป็นต้องให้เป็นเวลาเพื่อให้ออกไข่สม่ำเสมอ อาหารไก่ผสมเองใช้ข้าวโพด ปลายข้าว และข้าวเปลือกอัตราส่วนเท่า ๆ กัน ใส่หัวอาหารเพิ่มเข้าไปเล็กน้อยเพิ่มโปรตีน หากไก่ป่วยให้ผงฟ้าทลายโจร และวิตามินไบโอบี12 ละลายน้ำ บางครั้งเด็ดใบกะเพรากับฟ้าทลายโจรให้กินรวมกับอาหารช่วยเพิ่มภูมิต้านทานทำให้ไก่ไม่ป่วยง่าย
อาหารไก่ : รำ ปลายข้าว และอาหารไก่สำเร็จรูปผสมกัน (เคยเลี้ยงแบบทดลองไม่ให้อาหารไก่สำเร็จผสมลงไปสังเกตว่าไก่ผอมเกินไป) อาหารไก่ที่นำมาผสมจะให้ตามระยะ เช่น ไก่ อายุ 2-3 สัปดาห์แรกให้อาหารไก่เล็ก และเปลี่ยนเป็นอาหารไก่สาว ที่มีโปรตีนสูงระยะเริ่มออกไข่ และให้เศษอาหารในครัวเรือนพวกพืชผัก ผลไม้ ข้าวสุก ยกเว้นเนื้อสัตว์และกระดูกสัตว์ รวมทั้งหยวกกล้วย ผักไชยา ผักกระถิน
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 1 ครั้ง จากพืชที่ปลูกเอง มีข้าวไร่ ข้าวโพด เศษผัก หยวกกล้วย เสริมหัวอาหารผสมรำละเอียดและน้ำตาลทรายแดง ช่วงบ่าย นำเศษผักที่เหลือจากในครัวมาให้ไก่กิน น้ำที่ให้ไก่กินจะหยดน้ำหมักจุลินทรีย์เจือจางเพื่อปรับสมดุลในลำไส้
Temp controller

ข้อแนะนำ

1. กรณีที่ใช้เศษอาหารเลี้ยงไก่ ควรคำนึงถึงความสะอาดและป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อไก่
2. เมื่อไก่เริ่มให้ผลผลิตไข่ ควรเสริมเปลือกหอยป่นในอาหารให้ไก่กิน เพื่อลดปัญหาไข่เปลือกบาง และการจิกกินไข่ของแม่ไก่
3. ควรให้หญ้าสดหรือพืชตระกูลถั่วที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ เช่น ถั่วฮามาต้า ในกระถิน หรือใบมันสำปะหลัง เป็นต้น เพื่อเพิ่มระดับโปรตีนและวิตามินในอาหารให้มากขึ้น
4. ควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดทั้งวัน และทำความสะอาดที่ให้น้ำเป็นประจำ
5. กรณีที่ผู้เลี้ยงผสมวัตถุดิบอาหารเอง ควรผสมอาหารใหม่ทุกวัน ในช่วงเช้า-เย็น เพื่อคงความน่ากินของอาหาร และกระตุ้นความอยากกินของไก่

สูตร อาหารไก่ ทำเอง

    สำหรับการเลี้ยงไก่ในบ้าน อาหารไก่ นับเป็นอีกสิ่งที่สำคัญ เพื่อให้ไก่เจริญเติบโตเต็มที่ ออกไข่สม่ำเสมอ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ สุวรรณโสภี ผู้เขียนหนังสือคู่มือเลี้ยงไก่ในบ้าน สร้างเล้าไก่ในฝัน แนะนำวิธีให้อาหารไก่ว่าไก่ต้องได้รับอาหารที่มีโภชนะเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต
โดยผู้เลี้ยงสามารถใช้ อาหารไก่ สำเร็จรูป ผสมร่วมกับการใช้วัตถุดิบอื่นที่มีราคาถูกได้ วิธีการสังเกตว่าไก่ได้รับอาหารเพียงพอหรือไม่ให้ สามารถพิจารณาจากปริมาณอาหารที่ไก่กินเหลือในแต่ละวัน แสดงถึงการให้อาหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการในแต่ละวัน ผู้เลี้ยงควรปรับลดปริมาณอาหารที่ให้ต่อมื้อ เพื่อให้อาหารไก่มีความสดใหม่ทุกครั้งที่ให้ และลดความเสี่ยงจากการได้รับอาหารที่ปนเปื้อนมูลไก่และจุลินทรีย์ต่าง ๆ
 
    การเข้าถึงอาหารของไก่ หลังจากเทอาหารลงในที่ให้อาหาร โดยในช่วงแรกไก่ทุกตัวจะเข้าแย่งอาหาร จากนั้นจะเริ่มกินอาหารช้าลง และแยกตัวออกไปคุ้ยเขี่ยอาหารบนพื้นคอก ลักษณะเช่นนี้แสดงให้ทราบว่า ไก่ได้รับปริมาณอาหารเพียงพอต่อความต้องการแล้วความต้องการอาหารของไก่ในแต่ละช่วงอายุมีความแตกต่างกัน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของอาหารที่ให้ โดยไก่ที่เลี้ยงในบริเวณบ้านมีความต้องการพลังงานสำหรับการดำรงชีวิตน้อยกว่าไก่เชิงการค้า การเลี้ยงไก่ในบริเวณบ้านไม่เน้นการให้ผลผลิตจำนวนมาก และให้ไก่มีการเจริญเติบโตตามปกติ ปริมาณอาหารที่ใช้จึงเป็นเรื่องเฉพาะของผู้เลี้ยงแต่ละคน 
 
    โดยยึดหลักสำคัญคือ ไก่ที่เลี้ยงมีสุขภาพแข็งแรง และแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และ มีความสมบูรณ์พันธุ์ สามารถให้ผลผลิตได้อย่างต่อเนื่อง กรณีที่ผู้เลี้ยงต้องการใช้อาหารผสมสำเร็จร่วมกับวัตถุดิบอาหารที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น สามารถทำได้โดยจัดการให้อาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และความสมบูรณ์พันธุ์เป็นหลัก คือ ให้อาหารผสมในช่วงเช้า และเสริมวัตถุดิบอาหารอื่น ๆ ในช่วงบ่าย ทั้งนี้ ควรสังเกตการเจริญเติบโต และสุขภาพของไก่ควบคู่กันด้วย
Temp controller

ประเภทวัตถุดิบอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่

อาหารประเภทแป้ง ไก่นำไปใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต เช่น การเดิน การวิ่ง และการหายใจ เป็นต้น อาหารที่จัดอยู่ในประเภทนี้ เช่น รำข้าว ปลายข้าว ข้าวโพด ข้าวเปลือก และกากมันสำปะหลัง เป็นต้น
 
อาหารประเภทโปรตีน ไก่ใช้ประโยชน์ในการสร้างขน เล็บ เลือด เนื้อ และหนัง ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารประเภทแมลง ไส้เดือน ปลวก และปลาป่น
 
อาหารประเภทไขมัน ไก่นำไปใช้สร้างความร้อนและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย วัตถุดิบอาหารประเภทนี้ ได้แก่ กากถั่วเหลือง กากมะพร้าว ไขมันสัตว์ น้ำมันหมู และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทวิตามิน ถูกนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย ความกระปรี้กระเปร่า การสร้างภูมิคุ้มกันโรค และบำรุงระบบประสาท ซึ่งวัตถุดิบอาหารวิตามิน ได้แก่ หญ้าใบเขียว ใบกระถิน ข้าวโพด รำข้าว และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทแร่ธาตุ ไก่ต้องการแร่ธาตุเพื่อนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรง เช่น กระดูก เลือด และเปลือกไข่ โดยแร่ธาตุที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่น เปลือยหอยบ่น และกระดูกป่น เป็นต้น
น้ำ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดในร่างกาย หากร่างกายไก่ขาดน้ำจะทำให้ไก่ตายภายใน 24 ชั่วโมง ดังนั้น ผู้เลี้ยงจึงควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดเวลา
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 2 รอบ เช้า-เย็น เช้า 8.00-8.30 น. เย็น 16.30 น. ไก่ไข่จำเป็นต้องให้เป็นเวลาเพื่อให้ออกไข่สม่ำเสมอ อาหารไก่ผสมเองใช้ข้าวโพด ปลายข้าว และข้าวเปลือกอัตราส่วนเท่า ๆ กัน ใส่หัวอาหารเพิ่มเข้าไปเล็กน้อยเพิ่มโปรตีน หากไก่ป่วยให้ผงฟ้าทลายโจร และวิตามินไบโอบี12 ละลายน้ำ บางครั้งเด็ดใบกะเพรากับฟ้าทลายโจรให้กินรวมกับอาหารช่วยเพิ่มภูมิต้านทานทำให้ไก่ไม่ป่วยง่าย
อาหารไก่ : รำ ปลายข้าว และอาหารไก่สำเร็จรูปผสมกัน (เคยเลี้ยงแบบทดลองไม่ให้อาหารไก่สำเร็จผสมลงไปสังเกตว่าไก่ผอมเกินไป) อาหารไก่ที่นำมาผสมจะให้ตามระยะ เช่น ไก่ อายุ 2-3 สัปดาห์แรกให้อาหารไก่เล็ก และเปลี่ยนเป็นอาหารไก่สาว ที่มีโปรตีนสูงระยะเริ่มออกไข่ และให้เศษอาหารในครัวเรือนพวกพืชผัก ผลไม้ ข้าวสุก ยกเว้นเนื้อสัตว์และกระดูกสัตว์ รวมทั้งหยวกกล้วย ผักไชยา ผักกระถิน
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 1 ครั้ง จากพืชที่ปลูกเอง มีข้าวไร่ ข้าวโพด เศษผัก หยวกกล้วย เสริมหัวอาหารผสมรำละเอียดและน้ำตาลทรายแดง ช่วงบ่าย นำเศษผักที่เหลือจากในครัวมาให้ไก่กิน น้ำที่ให้ไก่กินจะหยดน้ำหมักจุลินทรีย์เจือจางเพื่อปรับสมดุลในลำไส้
Temp controller

ข้อแนะนำ

1. กรณีที่ใช้เศษอาหารเลี้ยงไก่ ควรคำนึงถึงความสะอาดและป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อไก่
2. เมื่อไก่เริ่มให้ผลผลิตไข่ ควรเสริมเปลือกหอยป่นในอาหารให้ไก่กิน เพื่อลดปัญหาไข่เปลือกบาง และการจิกกินไข่ของแม่ไก่
3. ควรให้หญ้าสดหรือพืชตระกูลถั่วที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ เช่น ถั่วฮามาต้า ในกระถิน หรือใบมันสำปะหลัง เป็นต้น เพื่อเพิ่มระดับโปรตีนและวิตามินในอาหารให้มากขึ้น
4. ควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดทั้งวัน และทำความสะอาดที่ให้น้ำเป็นประจำ
5. กรณีที่ผู้เลี้ยงผสมวัตถุดิบอาหารเอง ควรผสมอาหารใหม่ทุกวัน ในช่วงเช้า-เย็น เพื่อคงความน่ากินของอาหาร และกระตุ้นความอยากกินของไก่
 
 

สูตร อาหารไก่ ทำเอง

       สำหรับการเลี้ยงไก่ในบ้าน อาหารไก่ นับเป็นอีกสิ่งที่สำคัญ เพื่อให้ไก่เจริญเติบโตเต็มที่ ออกไข่สม่ำเสมอ ผศ.ดร.ธนาทิพย์ สุวรรณโสภี ผู้เขียนหนังสือคู่มือเลี้ยงไก่ในบ้าน สร้างเล้าไก่ในฝัน แนะนำวิธีให้อาหารไก่ว่าไก่ต้องได้รับอาหารที่มีโภชนะเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต

โดยผู้เลี้ยงสามารถใช้ อาหารไก่ สำเร็จรูป ผสมร่วมกับการใช้วัตถุดิบอื่นที่มีราคาถูกได้ วิธีการสังเกตว่าไก่ได้รับอาหารเพียงพอหรือไม่ให้ สามารถพิจารณาจากปริมาณอาหารที่ไก่กินเหลือในแต่ละวัน แสดงถึงการให้อาหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการในแต่ละวัน ผู้เลี้ยงควรปรับลดปริมาณอาหารที่ให้ต่อมื้อ เพื่อให้อาหารไก่มีความสดใหม่ทุกครั้งที่ให้ และลดความเสี่ยงจากการได้รับอาหารที่ปนเปื้อนมูลไก่และจุลินทรีย์ต่าง ๆ
 
       การเข้าถึงอาหารของไก่ หลังจากเทอาหารลงในที่ให้อาหาร โดยในช่วงแรกไก่ทุกตัวจะเข้าแย่งอาหาร จากนั้นจะเริ่มกินอาหารช้าลง และแยกตัวออกไปคุ้ยเขี่ยอาหารบนพื้นคอก ลักษณะเช่นนี้แสดงให้ทราบว่า ไก่ได้รับปริมาณอาหารเพียงพอต่อความต้องการแล้วความต้องการอาหารของไก่ในแต่ละช่วงอายุมีความแตกต่างกัน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของอาหารที่ให้ โดยไก่ที่เลี้ยงในบริเวณบ้านมีความต้องการพลังงานสำหรับการดำรงชีวิตน้อยกว่าไก่เชิงการค้า การเลี้ยงไก่ในบริเวณบ้านไม่เน้นการให้ผลผลิตจำนวนมาก และให้ไก่มีการเจริญเติบโตตามปกติ 
 
ปริมาณอาหารที่ใช้จึงเป็นเรื่องเฉพาะของผู้เลี้ยงแต่ละคน โดยยึดหลักสำคัญคือ ไก่ที่เลี้ยงมีสุขภาพแข็งแรง และแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ และ มีความสมบูรณ์พันธุ์ สามารถให้ผลผลิตได้อย่างต่อเนื่อง กรณีที่ผู้เลี้ยงต้องการใช้อาหารผสมสำเร็จร่วมกับวัตถุดิบอาหารที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น สามารถทำได้โดยจัดการให้อาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และความสมบูรณ์พันธุ์เป็นหลัก คือ ให้อาหารผสมในช่วงเช้า และเสริมวัตถุดิบอาหารอื่น ๆ ในช่วงบ่าย ทั้งนี้ ควรสังเกตการเจริญเติบโต และสุขภาพของไก่ควบคู่กันด้วย
 
Temp controller

 

ประเภทวัตถุดิบอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่

อาหารประเภทแป้ง ไก่นำไปใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต เช่น การเดิน การวิ่ง และการหายใจ เป็นต้น อาหารที่จัดอยู่ในประเภทนี้ เช่น รำข้าว ปลายข้าว ข้าวโพด ข้าวเปลือก และกากมันสำปะหลัง เป็นต้น
 
อาหารประเภทโปรตีน ไก่ใช้ประโยชน์ในการสร้างขน เล็บ เลือด เนื้อ และหนัง ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารประเภทแมลง ไส้เดือน ปลวก และปลาป่น
 
อาหารประเภทไขมัน ไก่นำไปใช้สร้างความร้อนและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย วัตถุดิบอาหารประเภทนี้ ได้แก่ กากถั่วเหลือง กากมะพร้าว ไขมันสัตว์ น้ำมันหมู และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทวิตามิน ถูกนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย ความกระปรี้กระเปร่า การสร้างภูมิคุ้มกันโรค และบำรุงระบบประสาท ซึ่งวัตถุดิบอาหารวิตามิน ได้แก่ หญ้าใบเขียว ใบกระถิน ข้าวโพด รำข้าว และอื่น ๆ
 
อาหารประเภทแร่ธาตุ ไก่ต้องการแร่ธาตุเพื่อนำไปใช้ในการเสริมสร้างความแข็งแรง เช่น กระดูก เลือด และเปลือกไข่ โดยแร่ธาตุที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่น เปลือยหอยบ่น และกระดูกป่น เป็นต้น
 
น้ำ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดในร่างกาย หากร่างกายไก่ขาดน้ำจะทำให้ไก่ตายภายใน 24 ชั่วโมง ดังนั้น ผู้เลี้ยงจึงควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดเวลา
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 2 รอบ เช้า-เย็น เช้า 8.00-8.30 น. เย็น 16.30 น. ไก่ไข่จำเป็นต้องให้เป็นเวลาเพื่อให้ออกไข่สม่ำเสมอ อาหารไก่ผสมเองใช้ข้าวโพด ปลายข้าว และข้าวเปลือกอัตราส่วนเท่า ๆ กัน ใส่หัวอาหารเพิ่มเข้าไปเล็กน้อยเพิ่มโปรตีน หากไก่ป่วยให้ผงฟ้าทลายโจร และวิตามินไบโอบี12 ละลายน้ำ บางครั้งเด็ดใบกะเพรากับฟ้าทลายโจรให้กินรวมกับอาหารช่วยเพิ่มภูมิต้านทานทำให้ไก่ไม่ป่วยง่าย
 
อาหารไก่ : รำ ปลายข้าว และอาหารไก่สำเร็จรูปผสมกัน (เคยเลี้ยงแบบทดลองไม่ให้อาหารไก่สำเร็จผสมลงไปสังเกตว่าไก่ผอมเกินไป) อาหารไก่ที่นำมาผสมจะให้ตามระยะ เช่น ไก่ อายุ 2-3 สัปดาห์แรกให้อาหารไก่เล็ก และเปลี่ยนเป็นอาหารไก่สาว ที่มีโปรตีนสูงระยะเริ่มออกไข่ และให้เศษอาหารในครัวเรือนพวกพืชผัก ผลไม้ ข้าวสุก ยกเว้นเนื้อสัตว์และกระดูกสัตว์ รวมทั้งหยวกกล้วย ผักไชยา ผักกระถิน
 
อาหารไก่ : ให้อาหารวันละ 1 ครั้ง จากพืชที่ปลูกเอง มีข้าวไร่ ข้าวโพด เศษผัก หยวกกล้วย เสริมหัวอาหารผสมรำละเอียดและน้ำตาลทรายแดง ช่วงบ่าย นำเศษผักที่เหลือจากในครัวมาให้ไก่กิน น้ำที่ให้ไก่กินจะหยดน้ำหมักจุลินทรีย์เจือจางเพื่อปรับสมดุลในลำไส้
 
Temp controller

ข้อแนะนำ

1. กรณีที่ใช้เศษอาหารเลี้ยงไก่ ควรคำนึงถึงความสะอาดและป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อไก่
 
2. เมื่อไก่เริ่มให้ผลผลิตไข่ ควรเสริมเปลือกหอยป่นในอาหารให้ไก่กิน เพื่อลดปัญหาไข่เปลือกบาง และการจิกกินไข่ของแม่ไก่
 
3. ควรให้หญ้าสดหรือพืชตระกูลถั่วที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ เช่น ถั่วฮามาต้า ในกระถิน หรือใบมันสำปะหลัง เป็นต้น เพื่อเพิ่มระดับโปรตีนและวิตามินในอาหารให้มากขึ้น
 
4. ควรจัดเตรียมน้ำสะอาดให้ไก่กินตลอดทั้งวัน และทำความสะอาดที่ให้น้ำเป็นประจำ
 
5. กรณีที่ผู้เลี้ยงผสมวัตถุดิบอาหารเอง ควรผสมอาหารใหม่ทุกวัน ในช่วงเช้า-เย็น เพื่อคงความน่ากินของอาหาร และกระตุ้นความอยากกินของไก่
 
 

 Temp Pigatron 13  

 การตั้งโปรแกรมอุณหภูมิสำหรับพัดลม, ป๊มน้ำ และฮีตเตอร์ ตามอายุของสัตว์เลี้ยงได้
การเลือก เปิด/ปิด พัดลม ตามวันและเวลาได้
ไม่พลาดทุกเหตุการณ์ เพื่อให้การเลี้ยงของคุณเป็นไปอย่างราบรื่น
 
✅ด้วยระบบ เก็บข้อมูลค่าสูงสุดหรือต่ำสุดของอุณหภูมิและความชื้น
✅ระบบแจ้งเตือนเมื่อมีความผิดปกติของ อุณภูมิ, ความชื้น และเซนเซอร์
เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
Click the link below for more information
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller  #piggy #farm  #smartfarm #temperaturecontroller #pigfarm  #climate #humiditycontroller #controller  #carbondioxide #ammonia  #sensors #automaticcontroller  #chicken #pig #ฟาร์ม  #ฟาร์มไก่  #ฟาร์มหมู #สมาร์ทฟาร์ม  #เลี้ยงไก่  #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ  #คอนโทรลเลอร์  #เซนเซอร์อุณหภูมิ  #เซนเซอร์ความชื้น
 
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!