Menu Close

กรมปศุสัตว์เร่งยกระดับฟาร์มหมูเข้าระบบ “GFM”

กรมปศุสัตว์เร่งยกระดับฟาร์มหมู-GFM

กรมปศุสัตว์เร่งยกระดับฟาร์มหมูเข้าระบบ ” GFM 

กรมปศุสัตว์เร่งยกฟาร์มหมูสู่ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม “GFM” ในเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย พร้อมออกมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูอาชีพผู้เลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจาก “โรค ASF”

กรมปศุสัตว์มีนโยบายให้ขับเคลื่อนฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในสุกร (GFM : Good Farm Management) เพื่อยกระดับการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย
ให้มีการจัดการที่มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ซึ่งเป็นการลดปัญหาจากโรคระบาด และส่งเสริมให้สินค้าปศุสัตว์มีความปลอดภัย
ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) ประกอบด้วยการจัดการ 8 หัวข้อ คือ
– การจัดพื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง
– การจัดการโรงเรือนหรือเล้าและอุปกรณ์
– การจัดการยานพาหนะ
– การจัดการบุคคล
– การจัดการด้านสุขภาพ
– การจัดการอาหาร น้ำ และยาสัตว์
– การจัดการข้อมูล
– การจัดการสิ่งแวดล้อม

Temp Pigatron 13

ซึ่งเกษตรกรสามารถปฏิบัติตามได้ง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้ต้นทุนต่ำ สามารถป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด ที่อาจทำให้เกิดความสูญเสียที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดโรคระบาดได้
กรมปศุสัตว์ยังวางมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูการเลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจากโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายเล็กและรายย่อยนั้น ในระยะแรก
กรมปศุสัตว์สั่งการให้เจ้าหน้าที่ของกรมฯ ในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ ให้คำแนะนำและสำรวจความต้องการการเลี้ยงสุกรของเกษตรกร ภายใต้มาตรการประเมินความเสี่ยง
และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ดี ที่ถูกต้อง และมีความพร้อมในการเลี้ยงสุกรใหม่ภายใต้ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)

นอกจากนี้ กรมปศุสัตว์ยังมีมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ปัจจัยการผลิตที่จำเป็น เพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร เช่น พันธุ์สัตว์ราคาถูก (ลูกสุกรขุน สุกรแม่พันธุ์)
โดยกรมปศุสัตว์และเครือข่ายผู้เลี้ยงสุกร การให้คำแนะนำด้านพืชอาหารสัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งประสานหาแหล่งทุนสนับสนุนการเลี้ยงสุกร โดย ธ.ก.ส. (โครงการสานฝันสร้างอาชีพฯ
รายละไม่เกิน 100,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กลุ่มวิสาหกิจ/กลุ่มจดทะเบียน/สหกรณ์) เป็นต้น

กรมปศุสัตว์จึงเร่งผลักดันและส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงสัตว์และการจัดการที่ถูกต้อง โดยปัจจุบันกรมปศุสัตว์มีการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในปศุสัตว์ 10 ชนิด
ได้แก่ สัตว์ปีกพื้นเมือง ไก่ไข่ เป็ดเนื้อ เป็ดไข่ โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ แกะ และ สุกร เกษตรกรที่มีความสนใจ หรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถสอบถามเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ณ ท้องที่ที่สถานที่เลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่

Products

กรมปศุสัตว์เร่งยกระดับฟาร์มหมูเข้าระบบ “GFM”

กรมปศุสัตว์เร่งยกฟาร์มหมูสู่ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม “GFM” ในเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย พร้อมออกมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูอาชีพผู้เลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจาก “โรค ASF” กรมปศุสัตว์มีนโยบายให้ขับเคลื่อนฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในสุกร (GFM : Good Farm Management) เพื่อยกระดับการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย
ให้มีการจัดการที่มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ซึ่งเป็นการลดปัญหาจากโรคระบาด และส่งเสริมให้สินค้าปศุสัตว์มีความปลอดภัย
ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) ประกอบด้วยการจัดการ 8 หัวข้อ คือ
– การจัดพื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง
– การจัดการโรงเรือนหรือเล้าและอุปกรณ์
– การจัดการยานพาหนะ
– การจัดการบุคคล
– การจัดการด้านสุขภาพ
– การจัดการอาหาร น้ำ และยาสัตว์
– การจัดการข้อมูล
– การจัดการสิ่งแวดล้อม
Temp Pigatron 13
ซึ่งเกษตรกรสามารถปฏิบัติตามได้ง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้ต้นทุนต่ำ สามารถป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด ที่อาจทำให้เกิดความสูญเสียที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดโรคระบาดได้
กรมปศุสัตว์ยังวางมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูการเลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจากโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายเล็กและรายย่อยนั้น ในระยะแรก
กรมปศุสัตว์สั่งการให้เจ้าหน้าที่ของกรมฯ ในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ ให้คำแนะนำและสำรวจความต้องการการเลี้ยงสุกรของเกษตรกร ภายใต้มาตรการประเมินความเสี่ยง
และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ดี ที่ถูกต้อง และมีความพร้อมในการเลี้ยง
 
สุกรใหม่ภายใต้ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
 
นอกจากนี้ กรมปศุสัตว์ยังมีมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ปัจจัยการผลิตที่จำเป็น เพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร เช่น พันธุ์สัตว์ราคาถูก (ลูกสุกรขุน สุกรแม่พันธุ์)
โดยกรมปศุสัตว์และเครือข่ายผู้เลี้ยงสุกร การให้คำแนะนำด้านพืชอาหารสัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งประสานหาแหล่งทุนสนับสนุนการเลี้ยงสุกร โดย ธ.ก.ส. (โครงการสานฝันสร้างอาชีพฯ
รายละไม่เกิน 100,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กลุ่มวิสาหกิจ/กลุ่มจดทะเบียน/สหกรณ์) เป็นต้น
 
กรมปศุสัตว์จึงเร่งผลักดันและส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงสัตว์และการจัดการที่ถูกต้อง โดยปัจจุบันกรมปศุสัตว์มีการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในปศุสัตว์ 10 ชนิด
ได้แก่ สัตว์ปีกพื้นเมือง ไก่ไข่ เป็ดเนื้อ เป็ดไข่ โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ แกะ และ สุกร เกษตรกรที่มีความสนใจ หรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถสอบถามเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ณ ท้องที่ที่สถานที่เลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่

กรมปศุสัตว์เร่งยกระดับฟาร์มหมูเข้าระบบ “GFM”

กรมปศุสัตว์เร่งยกฟาร์มหมูสู่ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม “GFM” ในเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย พร้อมออกมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูอาชีพผู้เลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจาก “โรค ASF”
กรมปศุสัตว์มีนโยบายให้ขับเคลื่อนฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในสุกร (GFM : Good Farm Management) เพื่อยกระดับการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายเล็กและรายย่อย

ให้มีการจัดการที่มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ซึ่งเป็นการลดปัญหาจากโรคระบาด และส่งเสริมให้สินค้าปศุสัตว์มีความปลอดภัย
ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) ประกอบด้วยการจัดการ 8 หัวข้อ คือ
– การจัดพื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง
– การจัดการโรงเรือนหรือเล้าและอุปกรณ์
– การจัดการยานพาหนะ
– การจัดการบุคคล
– การจัดการด้านสุขภาพ
– การจัดการอาหาร น้ำ และยาสัตว์
– การจัดการข้อมูล
– การจัดการสิ่งแวดล้อม
 
Temp Pigatron 13
 
ซึ่งเกษตรกรสามารถปฏิบัติตามได้ง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้ต้นทุนต่ำ สามารถป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด ที่อาจทำให้เกิดความสูญเสียที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดโรคระบาดได้
กรมปศุสัตว์ยังวางมาตรการส่งเสริมและฟื้นฟูการเลี้ยงสุกรที่ได้รับผลกระทบจากโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายเล็กและรายย่อยนั้น ในระยะแรก
กรมปศุสัตว์สั่งการให้เจ้าหน้าที่ของกรมฯ ในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ ให้คำแนะนำและสำรวจความต้องการการเลี้ยงสุกรของเกษตรกร ภายใต้มาตรการประเมินความเสี่ยง
และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ดี ที่ถูกต้อง และมีความพร้อมในการเลี้ยงสุกรใหม่ภายใต้ระบบความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
 
นอกจากนี้ กรมปศุสัตว์ยังมีมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ปัจจัยการผลิตที่จำเป็น เพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร เช่น พันธุ์สัตว์ราคาถูก (ลูกสุกรขุน สุกรแม่พันธุ์)
โดยกรมปศุสัตว์และเครือข่ายผู้เลี้ยงสุกร การให้คำแนะนำด้านพืชอาหารสัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งประสานหาแหล่งทุนสนับสนุนการเลี้ยงสุกร โดย ธ.ก.ส. (โครงการสานฝันสร้างอาชีพฯ
รายละไม่เกิน 100,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กลุ่มวิสาหกิจ/กลุ่มจดทะเบียน/สหกรณ์) เป็นต้น
 
กรมปศุสัตว์จึงเร่งผลักดันและส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงสัตว์และการจัดการที่ถูกต้อง โดยปัจจุบันกรมปศุสัตว์มีการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมในปศุสัตว์ 10 ชนิด
ได้แก่ สัตว์ปีกพื้นเมือง ไก่ไข่ เป็ดเนื้อ เป็ดไข่ โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ แกะ และ สุกร เกษตรกรที่มีความสนใจ หรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถสอบถามเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ณ ท้องที่ที่สถานที่เลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่
 
 
 
 

Temp Pigatron 13  

ในการตั้งโปรแกรมอุณหภูมิสำหรับพัดลม, ป๊มน้ำ และฮีตเตอร์ ตามอายุของสัตว์เลี้ยงได้
ในการเลือก เปิด/ปิด พัดลม ตามวันและเวลาไดไม่พลาดทุกเหตุการณ์ เพื่อให้การเลี้ยงของคุณเป็นไปอย่างราบรื่น
ด้วยระบบ เก็บข้อมูลค่าสูงสุดหรือต่ำสุดของอุณหภูมิและความชื้น ระบบแจ้งเตือนเมื่อมีความผิดปกติของ อุณภูมิ, ความชื้น และเซนเซอร์
เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
👇👇👇Click the link below for more information👇👇👇
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller  #piggy #farm  #smartfarm #temperaturecontroller #pigfarm  #climate #humiditycontroller #controller  #carbondioxide #ammonia  #sensors #automaticcontroller  #chicken #pig #ฟาร์ม  #ฟาร์มไก่  #ฟาร์มหมู #สมาร์ทฟาร์ม  #เลี้ยงไก่  #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ  #คอนโทรลเลอร์  #เซนเซอร์อุณหภูมิ  #เซนเซอร์ความชื้น
 
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!