โรงเรือนเลี้ยงสุกร
โรงเรือนเลี้ยงสุกร เป็นที่ทราบกันดีว่า สิ่งที่ผู้เลี้ยงสุกรต้องการ คือ “กำไร” ที่มาจากรายได้หักลบด้วยต้นทุนการผลิต แต่รายรับถูกกำหนดด้วยราคาขาย ซึ่งผันผวนขึ้นลงตามกลไกตลาด เกษตรกรควบคุมไม่ได้ จึงต้องให้ความสำคัญกับการจัดการต้นทุนการผลิต ดังนั้น ต้องให้ความสำคัญกับการจัดการป้องกันโรคในฟาร์ม เพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตให้ต่ำที่สุด เพราะยิ่งมีสุกรขายมากเท่าใด ยิ่งมีรายได้มากขึ้นเท่านั้น
ลักษณะระบบของโรงเรือนสุกร
1. โรงเรือนระบบเปิด
หมายถึง โรงเรือนที่ควบคุมสภาวะแวดล้อมตามธรรมชาติ และอุณหภูมิจะ แปรไปตามสภาพของอากาศรอบโรงเรือน
2. โรงเรือนระบบปิด
หมายถึง โรงเรือนที่สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ ของสุกร ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ และแสงสว่าง สามารถป้องกันพาหะนําโรค
ได้ โรงเรือนปิด เช่น โรงเรือนอแว็ป (Evaprative System) เป็นต้น ราคาลงทุนครั้งแรกค่อนข้าง แพง แต่สุกรจะอยู่สุขสบายและโตเร็ว
โรงเรือนสุกรขุน คอกสุกรขุนนิยมสร้างคอกเป็น 2 แถว มีทางเดินอยู่ตรงกลาง มีรางอาหารออยู่ด้านหน้า ก็อกน้ํา อัตโนมัติอยู่ด้านหลังคอก ก็อกน้ําสูงจากพื้นคอกประมาณ 50 เซนติเมตร ขนาดของคอก 4×3.5 เมตร
ผนังกั้นคอกสูง 1 เมตร ขังสุกรขุนขนาด 60-100 กิโลกรัม ได้ 8-10 ตัว ส่วนความยาวของ โรงเรือนก็ขึ้น อยู่กับจํานวนของสุกรขุนที่เลี้ยงว่าต้องการความยาวของโรงเรือนเท่าใด สุกรขุนถ่า เลี้ยงบนพื้นคอนกรีต
จะใช้พื้นที่ประมาณ 1.2-1.8 ตารางเมตร/ตัว
การจัดการโรงเรือน
โรงเรือน และที่ให้อาหาร ต้องสะอาดและแห้ง
โรงเรือนต้องสะดวกในการปฏิบัติงาน
ต้องดูแลซ่อมแซมโรงเรือนให้มีความปลอดภัยต่อสุกรและผู้ปฏิบัติงาน
มีการจัดการโรงเรือนเตรียมความพร้อมก่อนนำสัตว์เข้า
มีการทำความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อตามความเหมาะสม
1. สถานที่ก่อสร้างโรงเรือนสุกร ควรเป็นที่ตอนน้ําไม่ท่วม มีที่ระบายน้ําได้ดี ห่างไกลจากชุมนุม ชน ตลาด และผู้เลี้ยงสุกรรายอื่น
2. สร้างโรงเรือนสุกรตามแนวตะวันออก-ตะวันตก และระยะห่างของแต่ละโรงเรือน ประมาณ 2025 เมตร เพื่อแยกโรงเรือนออกจากกันเป็นสัดส่วน
3. ลักษณะของหลังคาโรงเรือนสุกรม 5 แบบ ด้วยกัน ดูตามรูป ด้านบน แบบเพิงหมาแหงน โรงเรือนแบบนี้สร้างง่าย ราคาก่อสร้างถูก แต่มีข้อเสีย คือ แสงแดดจะส่องมากเกินไปในฤดูร้อน
ทําให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนสูง ในฤดูฝนน้ําฝนจะสาดเข้าไปในโรงเรือนได้ง่าย ทําให้ภายในโรง เรือนขึ้นแฉะ ข้อเสียอีกอย่างหนึ่ง หากมุงหลังคาด้วยหญ้าคา แฝก และจาก จะต้องให้มี ความ ลาดเอียงของหลังคาในระดับลายชั้นสูง เพื่อให้น้ําฝนไหลลงจากหัวคอกไปท้ายออกได้สะดวก มี ฉะนั้นจะทําให้ฝนรั่วลงในตัวโรงเรือน แบบเพิงหมาแหงนกลาย จะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นกว่าแบบเพิงหมาแหงน แต่มีข้อดีสามารถใช้บังแสงแดด ป้องกันฝนสาด ได้ดีขึ้น แบบหน้าจั่ว ราคาก่อสร้างจะสูงกว่าสองแบบแรก แต่ดีกว่ามาก
ในแง่การป้องกันแสงแดดและฝนสาดโรงเรือน แบบนี้ถ้าสร้างสูงจะค์เนื่องจาก อากาศภายในโรงเรือนจะเย็นสบาย แต่ถ้าสร้างต่าหรือเตี้ยเกินไป จะทําให้อากาศภายในโดยเฉพาะตอนบ่ายร้อนอบอ้าว อากาศร้อนจะไม่ช่องระบายออก ด้านบน หลังคา แบบจั่วสองชั้น เป็นแบบที่นิยมสร้างกันทั่วไป มีความปลอดภัยจากแสงแดดและฝนมาก อากาศภายในโรงเรือนมี การระบายถ่ายเทได้ดี แต่ราคาค่า ก่อสร้างจะสูงกว่าสามแบบแรก แต่ก็นับว่าคุ้มค่า ข้อแนะน่าก็ คือ ตรงจั่วบนสุด ควรให้ปีกหลังคาบนยืนยาวลงมาพอสมควร ทั้งนี้เพื่อป้องกันฝนสาดเข้า ในช่อง หัว ในกรณีที่ฝนตกแรง ทําให้คอกภายในซันแฉะ โดยเฉพาะลูกสุกรจะเจ็บป่วย เนื่องจากฝนสาด และทําให้อากาศภายในตรงเรือนมีความชื้นสูง แบบจั่วสองชั้นกลาย มีคุณสมบัติคล้าย ๆ กับแบบจิ๋วสองชั้น หลังคาโรงเรือนแบบนี้ เพื่อต้องการขยายเนื้อที่ในโรงเรือน ให้กว้างใหญ่ขึ้น และจะดี ในแง่ป้องกันฝนสาดเข้าในช่องจัวของโรงเรือน
4. วัสดุที่ใช้มุงหลังคา ขึ้นอยู่กับงบการลงทุน วัสดูที่ใช้ เช่น กระเบื้อง อะลูมิเนียม สังกะสี่ แฝก และจาก เป็นต้น
5. ความสูงและความกว้างของโรงเรือน ถ้าโรงเรือนสูงและกว้างจะมีส่วนช่วยให้โรงเรือนเย็น สบาย ถ้ําเลี้ยงสุกรขุนมักจะสร้างคอกเป็น 2 แถว มีทางเดิน อยู่ตรงกลาง ขนาดของคอก ด้าน หน้ากว้าง
4 เมตร ยาวไปด้านท้ายคอก 3.5 เมตร (ขังสุกรขุนคอกละ 8-10 ตัว) หลังคาจั่ว 2 ชั้น ควรสูงประมาณ 8 เมตร ความยาวของโรงเรือนตามความเหมาะสม 20-100 เมตร
6. พื้นคอก โดยทั่วไปสร้างโรงเรือนเลี้ยงสุกรควยพื้นคอนกรีต ซึ่งจะประหยัดเงินลงทน ยกเว้นถ้า จะสร้างโรงเรือนสุกรพ่อแม่พันธุ์ อาจจะเป็นพื้นสองชั้น หรือเรียกว่าพื้นสแล็ต (พื้นสแล็ตสําเร็จรูป เป็นแผ่นมีรูเป็นช่อง ๆ สําหรับให้น้ําไหลจากพื้นชั้นบนลงไปพื้นชั้นล่าง) ใช้งบลงทุนมาก แต่จะ สะดวกในการ จัดการดูแลสุกรพ่อแม่พันธุ์ และแม่สุกรเลี้ยงลูก
7. ผนังคอก ทั่วๆ ไป มักใช้อิฐบล็อค แป็บน้ํา ลวดถัก ไม้ขนาด 1.5 นิ้วx 3 นิ้ว ความสูงของผนัง คอกจะสูงประมาณ 1 เมตร ถ้าเป็นสุกรพ่อพันธุ์ควร สูง 1.2 เมตร
ขนาดของฟาร์ม
ฟาร์มขนาดเล็ก จำนวน 50-500 ตัว หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ ตั้งแต่ 6-60 หน่วย ปศุสัตว์ (หนึ่งหน่วยปศุสัตว์ =500 กิโลกรัม)
ฟาร์มขนาดกลาง จำนวน 500-5,000 ตัว หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ ตั้งแต่ 60-600 หน่วยปศุสัตว์
ฟาร์มขนาดใหญ่ จำนวน 5,000 ตัว ขึ้นไป หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ มากกว่า 600 หน่วยปศุสัตว์
ลักษณะโรงเรือนระบบปิด
ระยะห่างของโรงเรือนแต่ละหลัง ไม่น้อยกว่า 25 เมตร และระยะห่างโรงเรือน ของแต่ละส่วนการผลิตไม่น้อยกว่า 50 เมตร
ขนาดโรงเรือน แต่ละหลังไม่ควรเลี้ยงสุกรเกิน 1,000 ตัว
ขนาดพื้นที่
สุกรพ่อพันธุ์ 4-8 ตารางเมตร/ตัว
แม่พันธุ์ท้องว่าง 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว
แม่พันธุ์ตั้งท้อง 1.2-3 ตารางเมตร/ตัว
คอกคลอดและแม่เลี้ยงลูก 3-4 ตารางเมตร/ตัว
สุกรขุน-พื้นคอนกรีต 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว
สุกรขุน-พื้นแสล็ต 1.0 ตารางเมตร/ตัว
โครงสร้างโรงเรือน
เสาและโครงทำจากปูน เหล็ก หรือไม้ที่มีความแข็งแรง
หลังคามุงด้วยกระเบื้องหรือวัสดุที่คงทน และสามารถลดความร้อนได้ ในกรณีหลังคาทำด้วยสังกะสีควรเป็นแบบหน้าจั่ว 2 ชั้น
ผนังคอก ทำจาก อิฐบล็อก หรือแป๊ปน้ำ สร้างอย่างแข็งแรง ความสูงผนังคอกประมาณ 1 เมตร และ 1.2 เมตร สำหรับสุกรพ่อพันธุ์
พื้นคอก : เป็นคอนกรีตไม่หยาบและไม่ลื่นเกินไป มีความลาดเอียง หรือเป็นพื้นแสลต
หน้าโรงเรือนแต่ละหลังมีบ่อน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับจุ่มเท้าบุคคลก่อนเข้า-ออก จากโรงเรือน
โรงเรือนแต่ละหลังควรอยู่ห่างจากรั้วไม่น้อยกว่า 20 เมตร
ลักษณะโรงเรือนระบบปิด
กว้างประมาณ 8-10 เมตร ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม มีระบบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น
พื้นคอก : เป็นคอนกรีตไม่หยาบและไม่ลื่นเกินไป มีความลาดเอียง หรือเป็นพื้นแสลต
ขนาดพื้นที่/ตัวของสุกร จะน้อยกว่าระบบเปิดแต่ต้องเพียงพอเพื่อให้สุกรอยู่อย่างสบาย
โรงเรือนแต่ละหลังควรอยู่ห่างจากรั้วไม่น้อยกว่า 20 เมตร
หน้าโรงเรือนแต่ละหลังมีบ่อน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับจุ่มเท้าบุคคลก่อนเข้า-ออก จากโรงเรือน
อุปกรณ์ให้น้ำและอาหาร
อุปกรณ์ให้น้ำ 1 อัน/สุกร 5-10 ตัว
รางอาหารความยาวไม่ต่ำกว่า 25 เซนติเมตร/ตัว
อุปกรณ์ให้อาหารแบบถังกลม หรือรางอาหารกล มีเพียงพอ เหมาะสมตามมาตรฐานของ
อปกรณ์ชนิดนั้นๆ
กรณีโรงเรือนมีส่วนการผลิตแบ่งชัดเจนดังนี้ชนิด 2 ส่วนการผลิต ประกอบด้วย
-ส่วนที่ 1 โรงเรือนพ่อ-แม่พันธุ์
-ส่วนที่ 2 โรงเรือนสุกรอนุบาลและสุกรขุน
ชนิด 3 ส่วนการผลิต
ส่วนที่ 1 โรงเรือนพ่อ-แม่พันธุ์
ส่วนที่ 2 โรงเรือนสุกรอนุบาล
ส่วนที่ 3 โรงเรือนสุกรขุน
ให้แต่ละส่วนการผลิตมีระบบเข้า-ออกทีเดียวพร้อมกัน ระยะห่างของแต่ละส่วนการผลิต
ไม่น้อยกว่า 50 เมตร
ขอขอบคุณ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ
โรงเรือนเลี้ยงสุกร
เป็นที่ทราบกันดีว่า สิ่งที่ผู้เลี้ยงสุกรต้องการ คือ “กำไร” ที่มาจากรายได้หักลบด้วยต้นทุนการผลิต แต่รายรับถูกกำหนดด้วยราคาขาย ซึ่งผันผวนขึ้นลงตามกลไกตลาด เกษตรกรควบคุมไม่ได้ จึงต้องให้ความสำคัญกับการจัดการต้นทุนการผลิต ดังนั้น ต้องให้ความสำคัญกับการจัดการป้องกันโรคในฟาร์ม เพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตให้ต่ำที่สุด เพราะยิ่งมีสุกรขายมากเท่าใด ยิ่งมีรายได้มากขึ้นเท่านั้น
ลักษณะระบบของโรงเรือนสุกร
1. โรงเรือนระบบเปิด
หมายถึง โรงเรือนที่ควบคุมสภาวะแวดล้อมตามธรรมชาติ และอุณหภูมิจะ แปรไปตามสภาพของอากาศรอบโรงเรือน
2. โรงเรือนระบบปิด
หมายถึง โรงเรือนที่สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ ของสุกร ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ และแสงสว่าง สามารถป้องกันพาหะนําโรค
ได้ โรงเรือนปิด เช่น โรงเรือนอแว็ป (Evaprative System) เป็นต้น ราคาลงทุนครั้งแรกค่อนข้าง แพง แต่สุกรจะอยู่สุขสบายและโตเร็ว
โรงเรือนสุกรขุน คอกสุกรขุนนิยมสร้างคอกเป็น 2 แถว มีทางเดินอยู่ตรงกลาง มีรางอาหารออยู่ด้านหน้า ก็อกน้ํา อัตโนมัติอยู่ด้านหลังคอก ก็อกน้ําสูงจากพื้นคอกประมาณ 50 เซนติเมตร ขนาดของคอก 4×3.5 เมตร
ผนังกั้นคอกสูง 1 เมตร ขังสุกรขุนขนาด 60-100 กิโลกรัม ได้ 8-10 ตัว ส่วนความยาวของ โรงเรือนก็ขึ้น อยู่กับจํานวนของสุกรขุนที่เลี้ยงว่าต้องการความยาวของโรงเรือนเท่าใด สุกรขุนถ่า เลี้ยงบนพื้นคอนกรีต
จะใช้พื้นที่ประมาณ 1.2-1.8 ตารางเมตร/ตัว
การจัดการโรงเรือน
โรงเรือน และที่ให้อาหาร ต้องสะอาดและแห้ง
โรงเรือนต้องสะดวกในการปฏิบัติงาน
ต้องดูแลซ่อมแซมโรงเรือนให้มีความปลอดภัยต่อสุกรและผู้ปฏิบัติงาน
มีการจัดการโรงเรือนเตรียมความพร้อมก่อนนำสัตว์เข้า
มีการทำความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อตามความเหมาะสม
1. สถานที่ก่อสร้างโรงเรือนสุกร ควรเป็นที่ตอนน้ําไม่ท่วม มีที่ระบายน้ําได้ดี ห่างไกลจากชุมนุม ชน ตลาด และผู้เลี้ยงสุกรรายอื่น
2. สร้างโรงเรือนสุกรตามแนวตะวันออก-ตะวันตก และระยะห่างของแต่ละโรงเรือน ประมาณ 2025 เมตร เพื่อแยกโรงเรือนออกจากกันเป็นสัดส่วน
3. ลักษณะของหลังคาโรงเรือนสุกรม 5 แบบ ด้วยกัน ดูตามรูป ด้านบน แบบเพิงหมาแหงน โรงเรือนแบบนี้สร้างง่าย ราคาก่อสร้างถูก แต่มีข้อเสีย คือ แสงแดดจะส่องมากเกินไปในฤดูร้อน
ทําให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนสูง ในฤดูฝนน้ําฝนจะสาดเข้าไปในโรงเรือนได้ง่าย ทําให้ภายในโรง เรือนขึ้นแฉะ ข้อเสียอีกอย่างหนึ่ง หากมุงหลังคาด้วยหญ้าคา แฝก และจาก จะต้องให้มี ความ ลาดเอียงของหลังคาในระดับลายชั้นสูง เพื่อให้น้ําฝนไหลลงจากหัวคอกไปท้ายออกได้สะดวก มี ฉะนั้นจะทําให้ฝนรั่วลงในตัวโรงเรือน แบบเพิงหมาแหงนกลาย จะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นกว่าแบบเพิงหมาแหงน แต่มีข้อดีสามารถใช้บังแสงแดด ป้องกันฝนสาด ได้ดีขึ้น แบบหน้าจั่ว ราคาก่อสร้างจะสูงกว่าสองแบบแรก แต่ดีกว่ามาก
ในแง่การป้องกันแสงแดดและฝนสาดโรงเรือน แบบนี้ถ้าสร้างสูงจะค์เนื่องจาก อากาศภายในโรงเรือนจะเย็นสบาย แต่ถ้าสร้างต่าหรือเตี้ยเกินไป จะทําให้อากาศภายในโดยเฉพาะตอนบ่ายร้อนอบอ้าว อากาศร้อนจะไม่ช่องระบายออก ด้านบน หลังคา แบบจั่วสองชั้น เป็นแบบที่นิยมสร้างกันทั่วไป มีความปลอดภัยจากแสงแดดและฝนมาก อากาศภายในโรงเรือนมี การระบายถ่ายเทได้ดี แต่ราคาค่า ก่อสร้างจะสูงกว่าสามแบบแรก แต่ก็นับว่าคุ้มค่า ข้อแนะน่าก็ คือ ตรงจั่วบนสุด ควรให้ปีกหลังคาบนยืนยาวลงมาพอสมควร ทั้งนี้เพื่อป้องกันฝนสาดเข้า ในช่อง หัว ในกรณีที่ฝนตกแรง ทําให้คอกภายในซันแฉะ โดยเฉพาะลูกสุกรจะเจ็บป่วย เนื่องจากฝนสาด และทําให้อากาศภายในตรงเรือนมีความชื้นสูง แบบจั่วสองชั้นกลาย มีคุณสมบัติคล้าย ๆ กับแบบจิ๋วสองชั้น หลังคาโรงเรือนแบบนี้ เพื่อต้องการขยายเนื้อที่ในโรงเรือน ให้กว้างใหญ่ขึ้น และจะดี ในแง่ป้องกันฝนสาดเข้าในช่องจัวของโรงเรือน
4. วัสดุที่ใช้มุงหลังคา ขึ้นอยู่กับงบการลงทุน วัสดูที่ใช้ เช่น กระเบื้อง อะลูมิเนียม สังกะสี่ แฝก และจาก เป็นต้น
5. ความสูงและความกว้างของโรงเรือน ถ้าโรงเรือนสูงและกว้างจะมีส่วนช่วยให้โรงเรือนเย็น สบาย ถ้ําเลี้ยงสุกรขุนมักจะสร้างคอกเป็น 2 แถว มีทางเดิน อยู่ตรงกลาง ขนาดของคอก ด้าน หน้ากว้าง
4 เมตร ยาวไปด้านท้ายคอก 3.5 เมตร (ขังสุกรขุนคอกละ 8-10 ตัว) หลังคาจั่ว 2 ชั้น ควรสูงประมาณ 8 เมตร ความยาวของโรงเรือนตามความเหมาะสม 20-100 เมตร
6. พื้นคอก โดยทั่วไปสร้างโรงเรือนเลี้ยงสุกรควยพื้นคอนกรีต ซึ่งจะประหยัดเงินลงทน ยกเว้นถ้า จะสร้างโรงเรือนสุกรพ่อแม่พันธุ์ อาจจะเป็นพื้นสองชั้น หรือเรียกว่าพื้นสแล็ต (พื้นสแล็ตสําเร็จรูป เป็นแผ่นมีรูเป็นช่อง ๆ สําหรับให้น้ําไหลจากพื้นชั้นบนลงไปพื้นชั้นล่าง) ใช้งบลงทุนมาก แต่จะ สะดวกในการ จัดการดูแลสุกรพ่อแม่พันธุ์ และแม่สุกรเลี้ยงลูก
7. ผนังคอก ทั่วๆ ไป มักใช้อิฐบล็อค แป็บน้ํา ลวดถัก ไม้ขนาด 1.5 นิ้วx 3 นิ้ว ความสูงของผนัง คอกจะสูงประมาณ 1 เมตร ถ้าเป็นสุกรพ่อพันธุ์ควร สูง 1.2 เมตร
ขนาดของฟาร์ม
ฟาร์มขนาดเล็ก จำนวน 50-500 ตัว หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ ตั้งแต่ 6-60 หน่วย ปศุสัตว์ (หนึ่งหน่วยปศุสัตว์ =500 กิโลกรัม)
ฟาร์มขนาดกลาง จำนวน 500-5,000 ตัว หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ ตั้งแต่ 60-600 หน่วยปศุสัตว์
ฟาร์มขนาดใหญ่ จำนวน 5,000 ตัว ขึ้นไป หรือ มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ มากกว่า 600 หน่วยปศุสัตว์
ลักษณะโรงเรือนระบบปิด
ระยะห่างของโรงเรือนแต่ละหลัง ไม่น้อยกว่า 25 เมตร และระยะห่างโรงเรือน ของแต่ละส่วนการผลิตไม่น้อยกว่า 50 เมตร
ขนาดโรงเรือน แต่ละหลังไม่ควรเลี้ยงสุกรเกิน 1,000 ตัว
ขนาดพื้นที่
สุกรพ่อพันธุ์ 4-8 ตารางเมตร/ตัว
แม่พันธุ์ท้องว่าง 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว
แม่พันธุ์ตั้งท้อง 1.2-3 ตารางเมตร/ตัว
คอกคลอดและแม่เลี้ยงลูก 3-4 ตารางเมตร/ตัว
สุกรขุน-พื้นคอนกรีต 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว
สุกรขุน-พื้นแสล็ต 1.0 ตารางเมตร/ตัว
โครงสร้างโรงเรือน
เสาและโครงทำจากปูน เหล็ก หรือไม้ที่มีความแข็งแรง
หลังคามุงด้วยกระเบื้องหรือวัสดุที่คงทน และสามารถลดความร้อนได้ ในกรณีหลังคาทำด้วยสังกะสีควรเป็นแบบหน้าจั่ว 2 ชั้น
ผนังคอก ทำจาก อิฐบล็อก หรือแป๊ปน้ำ สร้างอย่างแข็งแรง ความสูงผนังคอกประมาณ 1 เมตร และ 1.2 เมตร สำหรับสุกรพ่อพันธุ์
พื้นคอก : เป็นคอนกรีตไม่หยาบและไม่ลื่นเกินไป มีความลาดเอียง หรือเป็นพื้นแสลต
หน้าโรงเรือนแต่ละหลังมีบ่อน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับจุ่มเท้าบุคคลก่อนเข้า-ออก จากโรงเรือน
โรงเรือนแต่ละหลังควรอยู่ห่างจากรั้วไม่น้อยกว่า 20 เมตร
ลักษณะโรงเรือนระบบปิด
กว้างประมาณ 8-10 เมตร ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม มีระบบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น
พื้นคอก : เป็นคอนกรีตไม่หยาบและไม่ลื่นเกินไป มีความลาดเอียง หรือเป็นพื้นแสลต
ขนาดพื้นที่/ตัวของสุกร จะน้อยกว่าระบบเปิดแต่ต้องเพียงพอเพื่อให้สุกรอยู่อย่างสบาย
โรงเรือนแต่ละหลังควรอยู่ห่างจากรั้วไม่น้อยกว่า 20 เมตร
หน้าโรงเรือนแต่ละหลังมีบ่อน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับจุ่มเท้าบุคคลก่อนเข้า-ออก จากโรงเรือน
อุปกรณ์ให้น้ำและอาหาร
อุปกรณ์ให้น้ำ 1 อัน/สุกร 5-10 ตัว
รางอาหารความยาวไม่ต่ำกว่า 25 เซนติเมตร/ตัว
อุปกรณ์ให้อาหารแบบถังกลม หรือรางอาหารกล มีเพียงพอ เหมาะสมตามมาตรฐานของ
อปกรณ์ชนิดนั้นๆ
กรณีโรงเรือนมีส่วนการผลิตแบ่งชัดเจนดังนี้ชนิด 2 ส่วนการผลิต ประกอบด้วย
-ส่วนที่ 1 โรงเรือนพ่อ-แม่พันธุ์
-ส่วนที่ 2 โรงเรือนสุกรอนุบาลและสุกรขุน
ชนิด 3 ส่วนการผลิต
ส่วนที่ 1 โรงเรือนพ่อ-แม่พันธุ์
ส่วนที่ 2 โรงเรือนสุกรอนุบาล
ส่วนที่ 3 โรงเรือนสุกรขุน
ให้แต่ละส่วนการผลิตมีระบบเข้า-ออกทีเดียวพร้อมกัน ระยะห่างของแต่ละส่วนการผลิต
ไม่น้อยกว่า 50 เมตร
ขอขอบคุณ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ
Pingback:หมูเถื่อน - Temp Climate controller.com