Menu Close

ไข้หวัดนก H5N1 ระบาด กรมควบคุมโรค ประชุมมาตรการยกระดับ เฝ้าระวัง

ไข่หวัดนก H5N1

ไข้หวัดนก H5N1 ระบาด กรมควบคุมโรค ประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง

 

กรมควบคุมโรคประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง “ไข้หวัดนก” 

รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ไทยเฝ้าระวังเข้มด่านชายแดน หลังข่าวกัมพูชาพบเด็ก 11 เสียชีวิตจากไข้หวัดนก ขณะที่บิดาติดเชื้อ เผย 2 มีนาคมนี้ อธิบดีคร.เป็นประธานนั่งประชุม One Health ถกหน่วยงานเกี่ยวข้องยกระดับมาตรการป้องกันในไทย ย้ำ! ปัจจุบันไทยไม่พบคนป่วยหวัดนกมานานกว่า 16 ปี ขณะนี้ก็ยังไม่พบเช่นกัน

 

เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์  ที่กรมควบคุมโรค (คร.) นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค(คร.) กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) กล่าวถึงกรณีมีรายงานพบเด็กชาวกัมพูชาเสียชีวิตจากโรคไข้หวัดนก ว่า สำหรับรายงานข่าวพบผู้ป่วยไข้หวัดนก H5N1 ที่ประเทศกัมพูชา โดยเป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี พบป่วยเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ และเสียชีวิตในช่วง 2 วันที่ผ่านมา ล่าสุดเมื่อเช้านี้พบว่า บิดาของผู้ป่วยรายนี้ติดเชื้อ แต่ไม่มีอาการ เนื่องจากข้อมูลเพิ่งเข้ามา จึงต้องติดตามอาการต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ที่พบมีผู้ป่วยไข้หวัดนก 2 รายในกัมพูชา ซึ่งได้แจ้งต่อองค์การอนามัยโลก และประเทศอื่นๆ แล้ว

 

นพ.โสภณ กล่าวอีกว่า  อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้มีรายงานประเทศอื่นเช่นกัน อย่างปลายปี 2565 ที่ผ่านมาพบเด็กเสียชีวิตจากไข้หวัดนก 1 รายที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งจากการติดตามการระบาดของโรคพบว่า ส่วนใหญ่ติดมาจากสัตว์ปีกที่มีเชื้อไข้หวัดนกมาก่อน ส่วนรายกัมพูชาที่เป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี อาศัยอยู่ในจังหวัดไพรแวง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกัมพูชา โดยอาการมีไข้ เจ็บคอ อาการทางเดินหายใจ ซึ่งความเสี่ยงยังพบในกลุ่มเด็ก เพราะมีโอกาสสัมผัสใกล้ชิดสัตว์ปีก และอาจไม่ได้ระมัดระวังตัว

 

 “ประเทศไทยไม่เจอไข้หวัดนกมาตั้งแต่ปี 2549 แล้ว หรือคิดเป็น 16 ปีแล้ว เราไม่มีคนป่วยเป็นไข้หวัดนก แต่ส่วนใหญ่ยังรู้จักโรคนี้ และด้วยประสบการณ์ของเรา ระบบที่เราวางไว้ก็จะสามารถคัดกรอง ป้องกันได้ ซึ่งโรงพยาบาลต่างๆ ก็ยังคงมีระบบเฝ้าระวังเช่นเดิม สิ่งที่เป็นความเสี่ยง คือ การลักลอบนำเข้าสัตว์ปีกตามชายแดน ขอประชาชนงดนำสัตว์ปีกเข้ามาในไทย  ซึ่งมีกฎหมายควบคุมอยู่ ส่วนคนที่กลับมาจากประเทศที่มีการพบโรคมีการระบาด ขอให้สังเกตอาการตัวเอง หากมีไข้ หรืออาการทางเดินหายใจ เจ็บคอ มีน้ำมูกให้พบแพทย์ รวมทั้งการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือก็ยังช่วยป้องกันได้” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว

 

Temp controller

เมื่อถามว่ากรณีผู้ป่วยไข้หวัดนก ที่เป็นบิดาของเด็กหญิงที่เสียชีวิตที่กัมพูชา เป็นการติดเชื้อจากเด็กหญิงหรือจากสัตว์ปีก นพ.โสภณ กล่าวว่า ต้องขอดูข้อมูลการสอบสวนโรคของทางกัมพูชาก่อน แต่เบื้องต้นน่าจะมาจากการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก ยังเป็นการติดเชื้อแบบสัตว์สู่คน

 

ผู้สื่อข่าวถามว่าเชื้อไข้หวัดนกที่พบมีความแตกต่างจากเดิมหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า เนื่องจากเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้น จึงต้องขอรอดูข้อมูลการตรวจสอบว่า เชื้อสายพันธุ์ย่อยแตกต่างหรือไม่ แต่เท่าที่ทราบยังเป็น H5N1 ซึ่งเป็นเชื้อเดิมที่เคยเจอในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ตาม ไข้หวัดนกมีอัตราป่วยตายสูง สมัยก่อนป่วยตาย 2 ใน 3 ต่อมาเหลือ 50% ซึ่งเฉลี่ยทั่วโลกรายงาน 870 ราย เสียชีวิต 457 ราย มากกว่า 50% เป็นข้อมูลที่องค์การอนามัยโลกรายงานเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2566 โดยเจอใน 21 ประเทศที่มีรายงาน ซึ่งไทยเคยเจอและรายงานไว้ทั้งหมด 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย ประมาณ 2 ใน 3 แต่ปัจจุบันไทยยังไม่เจอ

 

“โดย 21 ประเทศที่เจอนั้น ก็มักเป็นประเทศที่อยู่ในแถบเส้นศูนย์สูตร อย่างไทย ก็เช่นกัน มีการเลี้ยงสัตว์ปีกเยอะ และช่วงอากาศเย็น หน้าหนาว หน้าฝนก็จะพบโรคได้ แต่ขอย้ำว่า ปัจจุบันไทยยังไม่พบ ซึ่งไม่พบมานานราว 16 ปี ขณะที่ประเทศแถบหนาวเจอเหมือนกัน แต่ไม่ค่อยติดคน” นพ.โสภณ กล่าว

 

เมื่อถามว่าประเทศไทยจะมีการยกระดับการควบคุมโรคอย่างไร เพราะขณะนี้เจอในประเทศใกล้ไทย นพ.โสภณ กล่าวว่า กรณีกัมพูชา อยู่ห่างจากไทยเยอะพอสมควร แต่เรามีการยกระดับการควบคุมโรคแน่นอน โดยท่านอธิบดีกรมควบคุมโรคได้ย้ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ช่องทางบกให้ยกระดับการเฝ้าระวังร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น กรมศุลกากร ด่านตรวจสัตว์ ด่านตรวจพืช ด่านควบคุมโรคติดต่อที่ดูแลคนเดินทาง ร่วมกันทำงานเพื่อเข้มงวดมากยิ่งขึ้น เฝ้าระวังทั้งสัตว์ คน จะมีระบบดูแลอยู่ อย่างของคร.ก็จะดูแลคน มีการวัดไข้ ดูอาการ ซักประวัติความเสี่ยง หากมีความเสี่ยงก็จะส่งตัวอย่างส่งตรวจ แยกคนเฝ้าระวัง หากนำเข้ามาก็ให้การดูแลรักษาต่อไป

 

เมื่อถามว่าต้องคัดกรองประเทศเสี่ยงเป็นพิเศษหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า จริงๆ ดูทั้งหมด แต่จุดไหนเสี่ยงมากก็ให้ความสำคัญเพิ่ม ซึ่งด่านกรมควบคุมโรคมีการดำเนินการอยู่แล้ว

 

“ในวันที่ 2 มีนาคมนี้ อธิบดีกรมควบคุมโรค ท่านจะเป็นประธานในการประชุมที่เรียกว่า การประสานงานสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health จะพูดคุยเรื่องไข้หวัดนก ทั้งการเฝ้าระวัง มาตรการควบคุมโรค ซึ่งปกติมีการพูดคุยตลอด แต่เมื่อมีกรณีข่าวไข้หวัดนก ก็จะมีการพูดคุยยกระดับมากขึ้น” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว

 

ไข้หวัดนก H5N1 คือ ?

 

ไข้หวัดนก (avian influenza หรือ bird flu) เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เอกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดในสัตว์ปีก ไม่ว่าจะเป็น นก เป็ด ไก่ ทั้งที่เกิดตามธรรมชาติ หรือถูกเลี้ยงในโรงเรือน สัตว์ประเภทอื่นบางสายพันธุ์ก็สามารถเสี่ยงเป็นโรคไข้หวัดนก H5N1 ได้เช่นกัน แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในสัตว์ปีกเช่น นก เป็ด ไก่ และ นก ดังนั้นจึงเรียกโรคไข้หวัดนกว่า avian influenza หรือ bird flu ซึ่งสามารถเกิดกับคนได้ทุกเพศทุกวัย

 

ติดเชื้อ ไข้หวัดนก H5N1 ได้อย่างไรได้บ้าง ?

ติดส่งผ่านอุจจาระและสารคัดหลั่งของสัตว์ปีกที่ติดเชื้อ หากมีการสัมผัส

หายใจเอาเชื้อเข้าร่างกาย

กินสัตว์ปีก หรือไข่ของสัตว์ปีกโดยไม่ผ่านการปรุงสุก ก็ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกได้ โดยเนื้อสัตว์ปีกที่ปลอดภัยคือเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกด้วยความร้อน 74 องศาเซลเซียสขึ้นไป ส่วนไข่ของสัตว์ปีก เช่น ไข่ไก่ หรือไข่เป็ด ควรปรุงจนกว่าไข่ขาวและไข่แดงจะสุก

 

อาการไข้หวัดนก 

คล้ายกับไข้หวัดใหญ่ แต่มีความรุนแรงกว่า เช่น มีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ

มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ หรือมีน้ำมูกไหล

อาการเริ่มแรกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น ท้องเสีย อาเจียน ปวดท้อง เจ็บหน้าอก มีเลือดออกตามไรฟัน มีเลือดกำเดาไหล หรือมีอาการเยื่อบุตาอักเสบ

นอกจากนี้มีผู้ป่วยจำนวนมากที่้ในช่วงต้นๆ จะพบอาการที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น หายใจลำบาก เสียงแหบแห้ง และมีเสียงครืดคราดเวลาที่หายใจ มีเสมหะ บางรายอาจมีเลือดปนออกมาในเสมหะด้วย

 

ปศุสัตว์ คุมเข้มสัตว์ปีก หลังเวียดนามพบเด็ก 5 ขวบติดเชื้อ “ไข้หวัดนก H5”

 

Temp controller

วิธี ป้องกันไข้หวัดนก

 

หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนกและสัตว์ปีก (ที่ยังมีชีวิตอยู่หรือที่ตายแล้ว) หรืออุจจาระของสัตว์เหล่านี้

หากสัมผัสถูกสัตว์เหล่านี้ให้ใช้สบู่ล้างมือให้สะอาดทันที

ปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทาน

ผู้เดินทางที่กลับมาจากพื้นที่ที่มีการติดเชื้อควรไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด หากรู้สึกมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยแจ้งแพทย์ถึงประวัติการเดินทาง และสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ

ทั้งนี้ในช่วงรักษาตัว แพทย์จะแนะนำให้พักผ่อนและดื่มน้ำมาก ๆ และรับประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการไข้และอาการปวด ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยาต้านเชื้อไวรัสเพื่อลดความรุนแรงของอาการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น และเพิ่มโอกาสในการรอดชีวิต โดยยาเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพในการรักษาสูงหากผู้ป่วยได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากอาการเริ่มแสดง แต่ในกรณีของไข้หวัดนก ยังไม่มีการยืนยันแน่ชัดว่าจะเป็นเช่นเดียวกันหรือไม่ ดังนั้นควรได้รับการรักษาโดยเร็วที่สุด แม้จะเลยจาก 48 ชั่วโมงแรกหลังแสดงอาการก็ตาม อย่างไรก็ตามแม้ไทยจะไม่พบไข้หวัดนกมานานถึง 16 ปี แต่ไม่ใช่ว่าจะไม่สิทธิ ป่วยหรือเจอการกินอาหารปรุงสุก หมั่นล้างมือให้เป็นนิสัย จึงเป็นหนทางป้องกันทุกโรคที่ดีที่สุดไม่ใช่เพียงแต่ไข้หวัดนก

ไข้หวัดนก 2023
ไวรัส H5N1

ไข้หวัดนก H5N1 ระบาด กรมควบคุมโรค ประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง

 
กรมควบคุมโรค  ประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง “ไข้หวัดนก” 2 มี.ค.นี้ หลังพบเด็กกัมพูชาเสียชีวิต H5N1
 
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ไทยเฝ้าระวังเข้มด่านชายแดน หลังข่าวกัมพูชาพบเด็ก 11 เสียชีวิตจากไข้หวัดนก ขณะที่บิดาติดเชื้อ เผย 2 มีนาคมนี้ อธิบดีคร.เป็นประธานนั่งประชุม One Health ถกหน่วยงานเกี่ยวข้องยกระดับมาตรการป้องกันในไทย ย้ำ! ปัจจุบันไทยไม่พบคนป่วยหวัดนกมานานกว่า 16 ปี ขณะนี้ก็ยังไม่พบเช่นกัน
 
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์  ที่กรมควบคุมโรค (คร.) นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค(คร.) กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) กล่าวถึงกรณีมีรายงานพบเด็กชาวกัมพูชาเสียชีวิตจากโรคไข้หวัดนก ว่า สำหรับรายงานข่าวพบผู้ป่วยไข้หวัดนก H5N1 ที่ประเทศกัมพูชา โดยเป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี พบป่วยเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ และเสียชีวิตในช่วง 2 วันที่ผ่านมา ล่าสุดเมื่อเช้านี้พบว่า บิดาของผู้ป่วยรายนี้ติดเชื้อ แต่ไม่มีอาการ เนื่องจากข้อมูลเพิ่งเข้ามา จึงต้องติดตามอาการต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ที่พบมีผู้ป่วยไข้หวัดนก 2 รายในกัมพูชา ซึ่งได้แจ้งต่อองค์การอนามัยโลก และประเทศอื่นๆ แล้ว
 

Temp controller

นพ.โสภณ กล่าวอีกว่า  อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้มีรายงานประเทศอื่นเช่นกัน อย่างปลายปี 2565 ที่ผ่านมาพบเด็กเสียชีวิตจากไข้หวัดนก 1 รายที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งจากการติดตามการระบาดของโรคพบว่า ส่วนใหญ่ติดมาจากสัตว์ปีกที่มีเชื้อไข้หวัดนกมาก่อน ส่วนรายกัมพูชาที่เป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี อาศัยอยู่ในจังหวัดไพรแวง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกัมพูชา โดยอาการมีไข้ เจ็บคอ อาการทางเดินหายใจ ซึ่งความเสี่ยงยังพบในกลุ่มเด็ก เพราะมีโอกาสสัมผัสใกล้ชิดสัตว์ปีก และอาจไม่ได้ระมัดระวังตัว
 
 “ประเทศไทยไม่เจอไข้หวัดนกมาตั้งแต่ปี 2549 แล้ว หรือคิดเป็น 16 ปีแล้ว เราไม่มีคนป่วยเป็นไข้หวัดนก แต่ส่วนใหญ่ยังรู้จักโรคนี้ และด้วยประสบการณ์ของเรา ระบบที่เราวางไว้ก็จะสามารถคัดกรอง ป้องกันได้ ซึ่งโรงพยาบาลต่างๆ ก็ยังคงมีระบบเฝ้าระวังเช่นเดิม สิ่งที่เป็นความเสี่ยง คือ การลักลอบนำเข้าสัตว์ปีกตามชายแดน ขอประชาชนงดนำสัตว์ปีกเข้ามาในไทย  ซึ่งมีกฎหมายควบคุมอยู่ ส่วนคนที่กลับมาจากประเทศที่มีการพบโรคมีการระบาด ขอให้สังเกตอาการตัวเอง หากมีไข้ หรืออาการทางเดินหายใจ เจ็บคอ มีน้ำมูกให้พบแพทย์ รวมทั้งการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือก็ยังช่วยป้องกันได้” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว
 
เมื่อถามว่ากรณีผู้ป่วยไข้หวัดนก ที่เป็นบิดาของเด็กหญิงที่เสียชีวิตที่กัมพูชา เป็นการติดเชื้อจากเด็กหญิงหรือจากสัตว์ปีก นพ.โสภณ กล่าวว่า ต้องขอดูข้อมูลการสอบสวนโรคของทางกัมพูชาก่อน แต่เบื้องต้นน่าจะมาจากการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก ยังเป็นการติดเชื้อแบบสัตว์สู่คน
ผู้สื่อข่าวถามว่าเชื้อไข้หวัดนกที่พบมีความแตกต่างจากเดิมหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า เนื่องจากเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้น จึงต้องขอรอดูข้อมูลการตรวจสอบว่า เชื้อสายพันธุ์ย่อยแตกต่างหรือไม่ แต่เท่าที่ทราบยังเป็น H5N1 ซึ่งเป็นเชื้อเดิมที่เคยเจอในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ตาม ไข้หวัดนกมีอัตราป่วยตายสูง สมัยก่อนป่วยตาย 2 ใน 3 ต่อมาเหลือ 50% ซึ่งเฉลี่ยทั่วโลกรายงาน 870 ราย เสียชีวิต 457 ราย มากกว่า 50% เป็นข้อมูลที่องค์การอนามัยโลกรายงานเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2566 โดยเจอใน 21 ประเทศที่มีรายงาน ซึ่งไทยเคยเจอและรายงานไว้ทั้งหมด 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย ประมาณ 2 ใน 3 แต่ปัจจุบันไทยยังไม่เจอ
 
“โดย 21 ประเทศที่เจอนั้น ก็มักเป็นประเทศที่อยู่ในแถบเส้นศูนย์สูตร อย่างไทย ก็เช่นกัน มีการเลี้ยงสัตว์ปีกเยอะ และช่วงอากาศเย็น หน้าหนาว หน้าฝนก็จะพบโรคได้ แต่ขอย้ำว่า ปัจจุบันไทยยังไม่พบ ซึ่งไม่พบมานานราว 16 ปี ขณะที่ประเทศแถบหนาวเจอเหมือนกัน แต่ไม่ค่อยติดคน” นพ.โสภณ กล่าว
 
เมื่อถามว่าประเทศไทยจะมีการยกระดับการควบคุมโรคอย่างไร เพราะขณะนี้เจอในประเทศใกล้ไทย นพ.โสภณ กล่าวว่า กรณีกัมพูชา อยู่ห่างจากไทยเยอะพอสมควร แต่เรามีการยกระดับการควบคุมโรคแน่นอน โดยท่านอธิบดีกรมควบคุมโรคได้ย้ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ช่องทางบกให้ยกระดับการเฝ้าระวังร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น กรมศุลกากร ด่านตรวจสัตว์ ด่านตรวจพืช ด่านควบคุมโรคติดต่อที่ดูแลคนเดินทาง ร่วมกันทำงานเพื่อเข้มงวดมากยิ่งขึ้น เฝ้าระวังทั้งสัตว์ คน จะมีระบบดูแลอยู่ อย่างของคร.ก็จะดูแลคน มีการวัดไข้ ดูอาการ ซักประวัติความเสี่ยง หากมีความเสี่ยงก็จะส่งตัวอย่างส่งตรวจ แยกคนเฝ้าระวัง หากนำเข้ามาก็ให้การดูแลรักษาต่อไป
 
เมื่อถามว่าต้องคัดกรองประเทศเสี่ยงเป็นพิเศษหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า จริงๆ ดูทั้งหมด แต่จุดไหนเสี่ยงมากก็ให้ความสำคัญเพิ่ม ซึ่งด่านกรมควบคุมโรคมีการดำเนินการอยู่แล้ว
 
“ในวันที่ 2 มีนาคมนี้ อธิบดีกรมควบคุมโรค ท่านจะเป็นประธานในการประชุมที่เรียกว่า การประสานงานสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health จะพูดคุยเรื่องไข้หวัดนก ทั้งการเฝ้าระวัง มาตรการควบคุมโรค ซึ่งปกติมีการพูดคุยตลอด แต่เมื่อมีกรณีข่าวไข้หวัดนก ก็จะมีการพูดคุยยกระดับมากขึ้น” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว

Temp controller

 

ไข้หวัดนก H5N1 คือ ?

ไข้หวัดนก (avian influenza หรือ bird flu) เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เอกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดในสัตว์ปีก ไม่ว่าจะเป็น นก เป็ด ไก่ ทั้งที่เกิดตามธรรมชาติ หรือถูกเลี้ยงในโรงเรือน สัตว์ประเภทอื่นบางสายพันธุ์ก็สามารถเสี่ยงเป็นโรคไข้หวัดนก H5N1 ได้เช่นกัน แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในสัตว์ปีกเช่น นก เป็ด ไก่ และ นก ดังนั้นจึงเรียกโรคไข้หวัดนกว่า avian influenza หรือ bird flu ซึ่งสามารถเกิดกับคนได้ทุกเพศทุกวัย
 
ติดเชื้อ ไข้หวัดนก H5N1 ได้อย่างไรได้บ้าง ?
ติดส่งผ่านอุจจาระและสารคัดหลั่งของสัตว์ปีกที่ติดเชื้อ หากมีการสัมผัส
หายใจเอาเชื้อเข้าร่างกาย
กินสัตว์ปีก หรือไข่ของสัตว์ปีกโดยไม่ผ่านการปรุงสุก ก็ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกได้ โดยเนื้อสัตว์ปีกที่ปลอดภัยคือเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกด้วยความร้อน 74 องศาเซลเซียสขึ้นไป ส่วนไข่ของสัตว์ปีก เช่น ไข่ไก่ หรือไข่เป็ด ควรปรุงจนกว่าไข่ขาวและไข่แดงจะสุก
 
อาการไข้หวัดนก 
คล้ายกับไข้หวัดใหญ่ แต่มีความรุนแรงกว่า เช่น มีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ หรือมีน้ำมูกไหล
อาการเริ่มแรกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น ท้องเสีย อาเจียน ปวดท้อง เจ็บหน้าอก มีเลือดออกตามไรฟัน มีเลือดกำเดาไหล หรือมีอาการเยื่อบุตาอักเสบ
นอกจากนี้มีผู้ป่วยจำนวนมากที่้ในช่วงต้นๆ จะพบอาการที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น หายใจลำบาก เสียงแหบแห้ง และมีเสียงครืดคราดเวลาที่หายใจ มีเสมหะ บางรายอาจมีเลือดปนออกมาในเสมหะด้วย
 
ปศุสัตว์ คุมเข้มสัตว์ปีก หลังเวียดนามพบเด็ก 5 ขวบติดเชื้อ “ไข้หวัดนก H5”
วิธี ป้องกันไข้หวัดนก
 
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนกและสัตว์ปีก (ที่ยังมีชีวิตอยู่หรือที่ตายแล้ว) หรืออุจจาระของสัตว์เหล่านี้
หากสัมผัสถูกสัตว์เหล่านี้ให้ใช้สบู่ล้างมือให้สะอาดทันที
ปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทาน
ผู้เดินทางที่กลับมาจากพื้นที่ที่มีการติดเชื้อควรไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด หากรู้สึกมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยแจ้งแพทย์ถึงประวัติการเดินทาง และสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ
ทั้งนี้ในช่วงรักษาตัว แพทย์จะแนะนำให้พักผ่อนและดื่มน้ำมาก ๆ และรับประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการไข้และอาการปวด ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยาต้านเชื้อไวรัสเพื่อลดความรุนแรงของอาการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น และเพิ่มโอกาสในการรอดชีวิต โดยยาเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพในการรักษาสูงหากผู้ป่วยได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากอาการเริ่มแสดง แต่ในกรณีของไข้หวัดนก ยังไม่มีการยืนยันแน่ชัดว่าจะเป็นเช่นเดียวกันหรือไม่ ดังนั้นควรได้รับการรักษาโดยเร็วที่สุด แม้จะเลยจาก 48 ชั่วโมงแรกหลังแสดงอาการก็ตาม อย่างไรก็ตามแม้ไทยจะไม่พบไข้หวัดนกมานานถึง 16 ปี แต่ไม่ใช่ว่าจะไม่สิทธิ ป่วยหรือเจอการกินอาหารปรุงสุก หมั่นล้างมือให้เป็นนิสัย จึงเป็นหนทางป้องกันทุกโรคที่ดีที่สุดไม่ใช่เพียงแต่ไข้หวัดนก
 

ไข้หวัดนก H5N1 ระบาด กรมควบคุมโรค ประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง

 
กรมควบคุมโรค  ประชุมมาตรการยกระดับเฝ้าระวัง “ไข้หวัดนก” 2 มี.ค.นี้ หลังพบเด็กกัมพูชาเสียชีวิต H5N1
 
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ไทยเฝ้าระวังเข้มด่านชายแดน หลังข่าวกัมพูชาพบเด็ก 11 เสียชีวิตจากไข้หวัดนก ขณะที่บิดาติดเชื้อ เผย 2 มีนาคมนี้ อธิบดีคร.เป็นประธานนั่งประชุม One Health ถกหน่วยงานเกี่ยวข้องยกระดับมาตรการป้องกันในไทย ย้ำ! ปัจจุบันไทยไม่พบคนป่วยหวัดนกมานานกว่า 16 ปี ขณะนี้ก็ยังไม่พบเช่นกัน
 
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์  ที่กรมควบคุมโรค (คร.) นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค(คร.) กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) กล่าวถึงกรณีมีรายงานพบเด็กชาวกัมพูชาเสียชีวิตจากโรคไข้หวัดนก ว่า สำหรับรายงานข่าวพบผู้ป่วยไข้หวัดนก H5N1 ที่ประเทศกัมพูชา โดยเป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี พบป่วยเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ และเสียชีวิตในช่วง 2 วันที่ผ่านมา ล่าสุดเมื่อเช้านี้พบว่า บิดาของผู้ป่วยรายนี้ติดเชื้อ แต่ไม่มีอาการ เนื่องจากข้อมูลเพิ่งเข้ามา จึงต้องติดตามอาการต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ที่พบมีผู้ป่วยไข้หวัดนก 2 รายในกัมพูชา ซึ่งได้แจ้งต่อองค์การอนามัยโลก และประเทศอื่นๆ แล้ว
 

Temp controller

 
นพ.โสภณ กล่าวอีกว่า  อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้มีรายงานประเทศอื่นเช่นกัน อย่างปลายปี 2565 ที่ผ่านมาพบเด็กเสียชีวิตจากไข้หวัดนก 1 รายที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งจากการติดตามการระบาดของโรคพบว่า ส่วนใหญ่ติดมาจากสัตว์ปีกที่มีเชื้อไข้หวัดนกมาก่อน ส่วนรายกัมพูชาที่เป็นเด็กหญิงอายุ 11 ปี อาศัยอยู่ในจังหวัดไพรแวง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกัมพูชา โดยอาการมีไข้ เจ็บคอ อาการทางเดินหายใจ ซึ่งความเสี่ยงยังพบในกลุ่มเด็ก เพราะมีโอกาสสัมผัสใกล้ชิดสัตว์ปีก และอาจไม่ได้ระมัดระวังตัว
 
 “ประเทศไทยไม่เจอไข้หวัดนกมาตั้งแต่ปี 2549 แล้ว หรือคิดเป็น 16 ปีแล้ว เราไม่มีคนป่วยเป็นไข้หวัดนก แต่ส่วนใหญ่ยังรู้จักโรคนี้ และด้วยประสบการณ์ของเรา ระบบที่เราวางไว้ก็จะสามารถคัดกรอง ป้องกันได้ ซึ่งโรงพยาบาลต่างๆ ก็ยังคงมีระบบเฝ้าระวังเช่นเดิม สิ่งที่เป็นความเสี่ยง คือ การลักลอบนำเข้าสัตว์ปีกตามชายแดน ขอประชาชนงดนำสัตว์ปีกเข้ามาในไทย  ซึ่งมีกฎหมายควบคุมอยู่ ส่วนคนที่กลับมาจากประเทศที่มีการพบโรคมีการระบาด ขอให้สังเกตอาการตัวเอง หากมีไข้ หรืออาการทางเดินหายใจ เจ็บคอ มีน้ำมูกให้พบแพทย์ รวมทั้งการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือก็ยังช่วยป้องกันได้” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว
 
เมื่อถามว่ากรณีผู้ป่วยไข้หวัดนก ที่เป็นบิดาของเด็กหญิงที่เสียชีวิตที่กัมพูชา เป็นการติดเชื้อจากเด็กหญิงหรือจากสัตว์ปีก นพ.โสภณ กล่าวว่า ต้องขอดูข้อมูลการสอบสวนโรคของทางกัมพูชาก่อน แต่เบื้องต้นน่าจะมาจากการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก ยังเป็นการติดเชื้อแบบสัตว์สู่คน
 
ผู้สื่อข่าวถามว่าเชื้อไข้หวัดนกที่พบมีความแตกต่างจากเดิมหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า เนื่องจากเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้น จึงต้องขอรอดูข้อมูลการตรวจสอบว่า เชื้อสายพันธุ์ย่อยแตกต่างหรือไม่ แต่เท่าที่ทราบยังเป็น H5N1 ซึ่งเป็นเชื้อเดิมที่เคยเจอในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ตาม ไข้หวัดนกมีอัตราป่วยตายสูง สมัยก่อนป่วยตาย 2 ใน 3 ต่อมาเหลือ 50% ซึ่งเฉลี่ยทั่วโลกรายงาน 870 ราย เสียชีวิต 457 ราย มากกว่า 50% เป็นข้อมูลที่องค์การอนามัยโลกรายงานเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2566 โดยเจอใน 21 ประเทศที่มีรายงาน ซึ่งไทยเคยเจอและรายงานไว้ทั้งหมด 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย ประมาณ 2 ใน 3 แต่ปัจจุบันไทยยังไม่เจอ
 
“โดย 21 ประเทศที่เจอนั้น ก็มักเป็นประเทศที่อยู่ในแถบเส้นศูนย์สูตร อย่างไทย ก็เช่นกัน มีการเลี้ยงสัตว์ปีกเยอะ และช่วงอากาศเย็น หน้าหนาว หน้าฝนก็จะพบโรคได้ แต่ขอย้ำว่า ปัจจุบันไทยยังไม่พบ ซึ่งไม่พบมานานราว 16 ปี ขณะที่ประเทศแถบหนาวเจอเหมือนกัน แต่ไม่ค่อยติดคน” นพ.โสภณ กล่าว
 
เมื่อถามว่าประเทศไทยจะมีการยกระดับการควบคุมโรคอย่างไร เพราะขณะนี้เจอในประเทศใกล้ไทย นพ.โสภณ กล่าวว่า กรณีกัมพูชา อยู่ห่างจากไทยเยอะพอสมควร แต่เรามีการยกระดับการควบคุมโรคแน่นอน โดยท่านอธิบดีกรมควบคุมโรคได้ย้ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ช่องทางบกให้ยกระดับการเฝ้าระวังร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น กรมศุลกากร ด่านตรวจสัตว์ ด่านตรวจพืช ด่านควบคุมโรคติดต่อที่ดูแลคนเดินทาง ร่วมกันทำงานเพื่อเข้มงวดมากยิ่งขึ้น เฝ้าระวังทั้งสัตว์ คน จะมีระบบดูแลอยู่ อย่างของคร.ก็จะดูแลคน มีการวัดไข้ ดูอาการ ซักประวัติความเสี่ยง หากมีความเสี่ยงก็จะส่งตัวอย่างส่งตรวจ แยกคนเฝ้าระวัง หากนำเข้ามาก็ให้การดูแลรักษาต่อไป
 
เมื่อถามว่าต้องคัดกรองประเทศเสี่ยงเป็นพิเศษหรือไม่ นพ.โสภณ กล่าวว่า จริงๆ ดูทั้งหมด แต่จุดไหนเสี่ยงมากก็ให้ความสำคัญเพิ่ม ซึ่งด่านกรมควบคุมโรคมีการดำเนินการอยู่แล้ว
 
“ในวันที่ 2 มีนาคมนี้ อธิบดีกรมควบคุมโรค ท่านจะเป็นประธานในการประชุมที่เรียกว่า การประสานงานสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health จะพูดคุยเรื่องไข้หวัดนก ทั้งการเฝ้าระวัง มาตรการควบคุมโรค ซึ่งปกติมีการพูดคุยตลอด แต่เมื่อมีกรณีข่าวไข้หวัดนก ก็จะมีการพูดคุยยกระดับมากขึ้น” รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าว
 

Temp controller

ไข้หวัดนก H5N1 คือ ?
ไข้หวัดนก (avian influenza หรือ bird flu) เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เอกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดในสัตว์ปีก ไม่ว่าจะเป็น นก เป็ด ไก่ ทั้งที่เกิดตามธรรมชาติ หรือถูกเลี้ยงในโรงเรือน สัตว์ประเภทอื่นบางสายพันธุ์ก็สามารถเสี่ยงเป็นโรคไข้หวัดนก H5N1 ได้เช่นกัน แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในสัตว์ปีกเช่น นก เป็ด ไก่ และ นก ดังนั้นจึงเรียกโรคไข้หวัดนกว่า avian influenza หรือ bird flu ซึ่งสามารถเกิดกับคนได้ทุกเพศทุกวัย
 
ติดเชื้อ ไข้หวัดนก H5N1 ได้อย่างไรได้บ้าง ?
ติดส่งผ่านอุจจาระและสารคัดหลั่งของสัตว์ปีกที่ติดเชื้อ หากมีการสัมผัส
หายใจเอาเชื้อเข้าร่างกาย
กินสัตว์ปีก หรือไข่ของสัตว์ปีกโดยไม่ผ่านการปรุงสุก ก็ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกได้ โดยเนื้อสัตว์ปีกที่ปลอดภัยคือเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกด้วยความร้อน 74 องศาเซลเซียสขึ้นไป ส่วนไข่ของสัตว์ปีก เช่น ไข่ไก่ หรือไข่เป็ด ควรปรุงจนกว่าไข่ขาวและไข่แดงจะสุก
 
อาการไข้หวัดนก 
คล้ายกับไข้หวัดใหญ่ แต่มีความรุนแรงกว่า เช่น มีไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ หรือมีน้ำมูกไหล
อาการเริ่มแรกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น ท้องเสีย อาเจียน ปวดท้อง เจ็บหน้าอก มีเลือดออกตามไรฟัน มีเลือดกำเดาไหล หรือมีอาการเยื่อบุตาอักเสบ
นอกจากนี้มีผู้ป่วยจำนวนมากที่้ในช่วงต้นๆ จะพบอาการที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น หายใจลำบาก เสียงแหบแห้ง และมีเสียงครืดคราดเวลาที่หายใจ มีเสมหะ บางรายอาจมีเลือดปนออกมาในเสมหะด้วย
 
ปศุสัตว์ คุมเข้มสัตว์ปีก หลังเวียดนามพบเด็ก 5 ขวบติดเชื้อ “ไข้หวัดนก H5”
วิธี ป้องกันไข้หวัดนก
 
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนกและสัตว์ปีก (ที่ยังมีชีวิตอยู่หรือที่ตายแล้ว) หรืออุจจาระของสัตว์เหล่านี้
หากสัมผัสถูกสัตว์เหล่านี้ให้ใช้สบู่ล้างมือให้สะอาดทันที
ปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทาน
ผู้เดินทางที่กลับมาจากพื้นที่ที่มีการติดเชื้อควรไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด หากรู้สึกมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยแจ้งแพทย์ถึงประวัติการเดินทาง และสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ
ทั้งนี้ในช่วงรักษาตัว แพทย์จะแนะนำให้พักผ่อนและดื่มน้ำมาก ๆ และรับประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการไข้และอาการปวด ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยาต้านเชื้อไวรัสเพื่อลดความรุนแรงของอาการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น และเพิ่มโอกาสในการรอดชีวิต 
 
โดยยาเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพในการรักษาสูงหากผู้ป่วยได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากอาการเริ่มแสดง แต่ในกรณีของไข้หวัดนก ยังไม่มีการยืนยันแน่ชัดว่าจะเป็นเช่นเดียวกันหรือไม่ ดังนั้นควรได้รับการรักษาโดยเร็วที่สุด แม้จะเลยจาก 48 ชั่วโมงแรกหลังแสดงอาการก็ตาม อย่างไรก็ตามแม้ไทยจะไม่พบไข้หวัดนกมานานถึง 16 ปี แต่ไม่ใช่ว่าจะไม่สิทธิ ป่วยหรือเจอการกินอาหารปรุงสุก หมั่นล้างมือให้เป็นนิสัย จึงเป็นหนทางป้องกันทุกโรคที่ดีที่สุดไม่ใช่เพียงแต่ไข้หวัดนก
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!