Menu Close

วิธีลดระดับแอมโมเนียในเล้าสัตว์ปีก

วิธีลดระดับแอมโมเนีย-02_0

วิธีลดระดับแอมโมเนียในเล้าสัตว์ปีก

 

การควบคุมแอมโมเนียในสัตว์ปีกมีหลากหลาย โดยสามารถนำมาใช้ได้ทั้งแบบเดี่ยวหรือผสมผสานกัน ซึ่งจะช่วยให้คุณภาพอากาศในโรงเรือนดีขึ้นและสัตว์ปีกอาจให้ผลผลิตได้ดียิ่งขึ้น กลยุทธ์เหล่านี้รวมถึงการระบายอากาศและการบริหารจัดการทั้งโรงเรือนและวัสดุรองพื้น/มูลสัตว์ปีก

 

การระบายอากาศถือเป็นการควบคุมคุณภาพอากาศภายในโรงเรือน ด้วยการกำจัดแอมโมเนียออกไปจากโรงเรือนและนำอากาศสะอาดเข้ามาแทนที่ แต่วิธีนี้ไม่ได้เป็นการลดหรือยับยั้งการก่อตัวของแอมโมเนียแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม การรักษาระดับการถ่ายเทอากาศให้เหมาะสมตลอดทุกช่วงฤดู จะช่วยลดระดับแอมโมเนียในอากาศภายในโรงเรือนและทำให้วัสดุรองพื้นแห้งสนิทไม่อับชื้น

 

การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดีจะช่วยลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียได้ ซึ่งหนึ่งในวิธีการบริหารจัดการโรงเรือนอย่างเหมาะสมก็คือ การตรวจสอบว่าวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ไม่อยู่ในสภาพเปียกชื้น วิธีป้องกันไม่ให้วัสดุรองพื้นเปียกชื้นได้แก่ 

 

ซ่อมแซมอุปกรณ์ให้น้ำและระบบพ่นน้ำที่เกิดการรั่วไหล, เลือกวัสดุรองพื้นที่เหมาะสม, รักษาระดับความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนให้พอเหมาะกับอายุของสัตว์ปีก, ลดความแออัด และให้ความร้อนและระบายอากาศในโรงเรือนอย่างเพียงพอ กลยุทธ์ในการจัดการวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์ แบ่งออกเป็นการบริหารจัดการหลักๆ
สองข้อดังนี้

 
AMMONIA-SENSOR
 

1.การจัดการอาหารสัตว์ปีก

 

การก่อตัวของแอมโมเนียในมูลสัตว์และการปล่อยก๊าซสามารถสืบย้อนกลับไปถึงระดับไนโตรเจนที่เพิ่มสูงขึ้นในมูลสัตว์ ระดับไนโตรเจนจากมูลสัตว์จะเพิ่มขึ้นหากสัตว์ปีกไม่สามารถย่อยและดูดซึมโปรตีนจากอาหารสัตว์ได้อย่างเหมาะสม 

 

ซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นเมื่ออาหารที่ให้แก่สัตว์ปีกมีส่วนผสมของโปรตีนเชิงซ้อนมากเกินควร, สัตว์มีอาการเจ็บป่วย หรือระบบทางเดินอาหารทำงานผิดปกติ ปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขหรือป้องกันได้ด้วยการรักษาระดับโปรตีนและ/หรือกรดอะมิโนในอาหารสัตว์ให้สมดุล และดูแลระบบทางเดินอาหารของสัตว์ปีกให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ

 
 

อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยป้องกันการปล่อยก๊าซแอมโมเนียจากไนโตรเจนในมูลสัตว์คือ การเพิ่มส่วนผสมต่างๆ จึงสามารถลดยูเรียและแอมโมเนียมไอออนในเลือด ลดการย่อยสลายไนโตรเจนมากเกินควรในลำไส้ใหญ่ส่วนต้น และดักจับแอมโมเนียให้คงอยู่ในมูลสัตว์ต่อไปโดยไม่ถูกปล่อยออกมาในรูปของก๊าซ เมื่อนำผลิตภัณฑ์นี้มาใช้ร่วมกับอาหารสัตว์ตั้งแต่สัตว์ปีกถูกนำเข้ามาในโรงเรือนจนถึงเวลาที่ออกจากโรงเรือน จะช่วยควบคุมการปล่อยแอมโมเนียออกสู่อากาศได้

 
 

2.การจัดการมูลสัตว์ภายในโรงเรือน

 

สารเพิ่มความเป็นกรดสามารถลดค่า pH ของวัสดุรองพื้น (ให้ต่ำกว่าค่าปกติที่ 7.5-8.5) ซึ่งจะช่วยหน่วงและลดกิจกรรมของจุลินทรีย์ย่อยสลายสารอาหารในมูลสัตว์เพื่อปล่อยแอมโมเนียได้ อีกกลยุทธ์หนึ่งคือการใช้สารดูดซับกลิ่นและความชื้นในวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ 

 

โดยสารเหล่านี้ซึ่งมักจะทำจากเคลย์เป็นหลัก จะทำหน้าที่ในการหน่วงให้กิจกรรมของจุลินทรีย์เกิดช้าลงหรือลดปริมาณความชื้นในวัสดุรองพื้น สามารถนำมาใช้ในการฉีดพ่นคลุมหรือราดมูลสัตว์เพื่อควบคุมแอมโมเนียที่ถูกปล่อยออกมาและลดกลิ่นแอมโมเนีย หรือใช้เป็นตัวยับยั้งเอนไซม์จุลินทรีย์และยูรีเอสเพื่อป้องกันการทำงานของจุลินทรีย์และเอนไซม์ในมูลสัตว์ที่ทำให้เกิดการปล่อยแอมโมเนียก็ได้เช่นกัน

 

อย่างไรก็ดี กลยุทธ์ทั้งหมดนี้อาจมีประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากการสะสมวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ความชื้นในวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ชนิดของสัตว์ปีก, อุณหภูมิในโรงเรือน, โรคภัยต่างๆ หรือปัจจัยเหล่านี้รวมกัน

 

สรุป

การปล่อยสารแอมโมเนียจากมูลสัตว์ในฟาร์มสัตว์ปีกและก๊าซแอมโมเนียในโรงเรือนเป็นประเด็นที่ซับซ้อนในอุตสาหกรรมสัตว์ปีก แต่หากมีการถ่ายเทอากาศที่ดี การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดี และใช้กลยุทธ์เพื่อลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียรวมกัน ก็จะสามารถเอาชนะปัญหานี้ได้สำเร็จ ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของปีก็ตาม  TEMP

 
 

วิธีลดระดับแอมโมเนียในเล้าสัตว์ปีก

 
การควบคุมแอมโมเนียในสัตว์ปีกมีหลากหลาย โดยสามารถนำมาใช้ได้ทั้งแบบเดี่ยวหรือผสมผสานกัน ซึ่งจะช่วยให้คุณภาพอากาศในโรงเรือนดีขึ้นและสัตว์ปีกอาจให้ผลผลิตได้ดียิ่งขึ้น กลยุทธ์เหล่านี้รวมถึงการระบายอากาศและการบริหารจัดการทั้งโรงเรือนและวัสดุรองพื้น/มูลสัตว์ปีก
 
การระบายอากาศถือเป็นการควบคุมคุณภาพอากาศภายในโรงเรือน ด้วยการกำจัดแอมโมเนียออกไปจากโรงเรือนและนำอากาศสะอาดเข้ามาแทนที่ แต่วิธีนี้ไม่ได้เป็นการลดหรือยับยั้งการก่อตัวของแอมโมเนียแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม การรักษาระดับการถ่ายเทอากาศให้เหมาะสมตลอดทุกช่วงฤดู จะช่วยลดระดับแอมโมเนียในอากาศภายในโรงเรือนและทำให้วัสดุรองพื้นแห้งสนิทไม่อับชื้น
 
การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดีจะช่วยลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียได้ ซึ่งหนึ่งในวิธีการบริหารจัดการโรงเรือนอย่างเหมาะสมก็คือ การตรวจสอบว่าวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ไม่อยู่ในสภาพเปียกชื้น วิธีป้องกันไม่ให้วัสดุรองพื้นเปียกชื้นได้แก่ ซ่อมแซมอุปกรณ์ให้น้ำและระบบพ่นน้ำที่เกิดการรั่วไหล, เลือกวัสดุรองพื้นที่เหมาะสม, รักษาระดับความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนให้พอเหมาะกับอายุของสัตว์ปีก, ลดความแออัด และให้ความร้อนและระบายอากาศในโรงเรือนอย่างเพียงพอ กลยุทธ์ในการจัดการวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์ แบ่งออกเป็นการบริหารจัดการหลักๆ
สองข้อดังนี้
AMMONIA-SENSOR
 
1.การจัดการอาหารสัตว์ปีก
 
การก่อตัวของแอมโมเนียในมูลสัตว์และการปล่อยก๊าซสามารถสืบย้อนกลับไปถึงระดับไนโตรเจนที่เพิ่มสูงขึ้นในมูลสัตว์ ระดับไนโตรเจนจากมูลสัตว์จะเพิ่มขึ้นหากสัตว์ปีกไม่สามารถย่อยและดูดซึมโปรตีนจากอาหารสัตว์ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นเมื่ออาหารที่ให้แก่สัตว์ปีกมีส่วนผสมของโปรตีนเชิงซ้อนมากเกินควร, สัตว์มีอาการเจ็บป่วย หรือระบบทางเดินอาหารทำงานผิดปกติ ปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขหรือป้องกันได้ด้วยการรักษาระดับโปรตีนและ/หรือกรดอะมิโนในอาหารสัตว์ให้สมดุล และดูแลระบบทางเดินอาหารของสัตว์ปีกให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ
 
อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยป้องกันการปล่อยก๊าซแอมโมเนียจากไนโตรเจนในมูลสัตว์คือ การเพิ่มส่วนผสมต่างๆ ซึ่งสามารถดักจับแอมโมเนียได้  จึงสามารถลดยูเรียและแอมโมเนียมไอออนในเลือด ลดการย่อยสลายไนโตรเจนมากเกินควรในลำไส้ใหญ่ส่วนต้น และดักจับแอมโมเนียให้คงอยู่ในมูลสัตว์ต่อไปโดยไม่ถูกปล่อยออกมาในรูปของก๊าซ เมื่อนำผลิตภัณฑ์นี้มาใช้ร่วมกับอาหารสัตว์ตั้งแต่สัตว์ปีกถูกนำเข้ามาในโรงเรือนจนถึงเวลาที่ออกจากโรงเรือน จะช่วยควบคุมการปล่อยแอมโมเนียออกสู่อากาศได้
 
2.การจัดการมูลสัตว์ภายในโรงเรือน
 
สารเพิ่มความเป็นกรดสามารถลดค่า pH ของวัสดุรองพื้น (ให้ต่ำกว่าค่าปกติที่ 7.5-8.5) ซึ่งจะช่วยหน่วงและลดกิจกรรมของจุลินทรีย์ย่อยสลายสารอาหารในมูลสัตว์เพื่อปล่อยแอมโมเนียได้ อีกกลยุทธ์หนึ่งคือการใช้สารดูดซับกลิ่นและความชื้นในวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ โดยสารเหล่านี้ซึ่งมักจะทำจากเคลย์เป็นหลัก จะทำหน้าที่ในการหน่วงให้กิจกรรมของจุลินทรีย์เกิดช้าลงหรือลดปริมาณความชื้นในวัสดุรองพื้น 
 
สามารถนำมาใช้ในการฉีดพ่นคลุมหรือราดมูลสัตว์เพื่อควบคุมแอมโมเนียที่ถูกปล่อยออกมาและลดกลิ่นแอมโมเนีย หรือใช้เป็นตัวยับยั้งเอนไซม์จุลินทรีย์และยูรีเอสเพื่อป้องกันการทำงานของจุลินทรีย์และเอนไซม์ในมูลสัตว์ที่ทำให้เกิดการปล่อยแอมโมเนียก็ได้เช่นกัน
 
อย่างไรก็ดี กลยุทธ์ทั้งหมดนี้อาจมีประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากการสะสมวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ความชื้นในวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ชนิดของสัตว์ปีก, อุณหภูมิในโรงเรือน, โรคภัยต่างๆ หรือปัจจัยเหล่านี้รวมกัน
 
สรุป
การปล่อยสารแอมโมเนียจากมูลสัตว์ในฟาร์มสัตว์ปีกและก๊าซแอมโมเนียในโรงเรือนเป็นประเด็นที่ซับซ้อนในอุตสาหกรรมสัตว์ปีก แต่หากมีการถ่ายเทอากาศที่ดี การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดี และใช้กลยุทธ์เพื่อลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียรวมกัน ก็จะสามารถเอาชนะปัญหานี้ได้สำเร็จ ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของปีก็ตาม
 
 

วิธีลดระดับแอมโมเนียในเล้าสัตว์ปีก

 
การควบคุมแอมโมเนียในสัตว์ปีกมีหลากหลาย โดยสามารถนำมาใช้ได้ทั้งแบบเดี่ยวหรือผสมผสานกัน ซึ่งจะช่วยให้คุณภาพอากาศในโรงเรือนดีขึ้นและสัตว์ปีกอาจให้ผลผลิตได้ดียิ่งขึ้น กลยุทธ์เหล่านี้รวมถึงการระบายอากาศและการบริหารจัดการทั้งโรงเรือนและวัสดุรองพื้น/มูลสัตว์ปีก
 
การระบายอากาศถือเป็นการควบคุมคุณภาพอากาศภายในโรงเรือน ด้วยการกำจัดแอมโมเนียออกไปจากโรงเรือนและนำอากาศสะอาดเข้ามาแทนที่ แต่วิธีนี้ไม่ได้เป็นการลดหรือยับยั้งการก่อตัวของแอมโมเนียแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม การรักษาระดับการถ่ายเทอากาศให้เหมาะสมตลอดทุกช่วงฤดู จะช่วยลดระดับแอมโมเนียในอากาศภายในโรงเรือนและทำให้วัสดุรองพื้นแห้งสนิทไม่อับชื้น
 
การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดีจะช่วยลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียได้ ซึ่งหนึ่งในวิธีการบริหารจัดการโรงเรือนอย่างเหมาะสมก็คือ การตรวจสอบว่าวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ไม่อยู่ในสภาพเปียกชื้น วิธีป้องกันไม่ให้วัสดุรองพื้นเปียกชื้นได้แก่ ซ่อมแซมอุปกรณ์ให้น้ำและระบบพ่นน้ำที่เกิดการรั่วไหล, เลือกวัสดุรองพื้นที่เหมาะสม, รักษาระดับความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนให้พอเหมาะกับอายุของสัตว์ปีก, ลดความแออัด และให้ความร้อนและระบายอากาศในโรงเรือนอย่างเพียงพอ กลยุทธ์ในการจัดการวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์ แบ่งออกเป็นการบริหารจัดการหลักๆ
สองข้อดังนี้
AMMONIA-SENSOR
 
1.การจัดการอาหารสัตว์ปีก
การก่อตัวของแอมโมเนียในมูลสัตว์และการปล่อยก๊าซสามารถสืบย้อนกลับไปถึงระดับไนโตรเจนที่เพิ่มสูงขึ้นในมูลสัตว์ ระดับไนโตรเจนจากมูลสัตว์จะเพิ่มขึ้นหากสัตว์ปีกไม่สามารถย่อยและดูดซึมโปรตีนจากอาหารสัตว์ได้อย่างเหมาะสม 
 
ซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นเมื่ออาหารที่ให้แก่สัตว์ปีกมีส่วนผสมของโปรตีนเชิงซ้อนมากเกินควร, สัตว์มีอาการเจ็บป่วย หรือระบบทางเดินอาหารทำงานผิดปกติ ปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขหรือป้องกันได้ด้วยการรักษาระดับโปรตีนและ/หรือกรดอะมิโนในอาหารสัตว์ให้สมดุล และดูแลระบบทางเดินอาหารของสัตว์ปีกให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ
 
อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยป้องกันการปล่อยก๊าซแอมโมเนียจากไนโตรเจนในมูลสัตว์คือ การเพิ่มส่วนผสมต่างๆ ซึ่งสามารถดักจับแอมโมเนียได้  จึงสามารถลดยูเรียและแอมโมเนียมไอออนในเลือด ลดการย่อยสลายไนโตรเจนมากเกินควรในลำไส้ใหญ่ส่วนต้น และดักจับแอมโมเนียให้คงอยู่ในมูลสัตว์ต่อไปโดยไม่ถูกปล่อยออกมาในรูปของก๊าซ เมื่อนำผลิตภัณฑ์นี้มาใช้ร่วมกับอาหารสัตว์ตั้งแต่สัตว์ปีกถูกนำเข้ามาในโรงเรือนจนถึงเวลาที่ออกจากโรงเรือน จะช่วยควบคุมการปล่อยแอมโมเนียออกสู่อากาศได้
 
2.การจัดการมูลสัตว์ภายในโรงเรือน
สารเพิ่มความเป็นกรดสามารถลดค่า pH ของวัสดุรองพื้น (ให้ต่ำกว่าค่าปกติที่ 7.5-8.5) ซึ่งจะช่วยหน่วงและลดกิจกรรมของจุลินทรีย์ย่อยสลายสารอาหารในมูลสัตว์เพื่อปล่อยแอมโมเนียได้ อีกกลยุทธ์หนึ่งคือการใช้สารดูดซับกลิ่นและความชื้นในวัสดุรองพื้นหรือมูลสัตว์ โดยสารเหล่านี้ซึ่งมักจะทำจากเคลย์เป็นหลัก จะทำหน้าที่ในการหน่วงให้กิจกรรมของจุลินทรีย์เกิดช้าลงหรือลดปริมาณความชื้นในวัสดุรองพื้น
 
 สามารถนำมาใช้ในการฉีดพ่นคลุมหรือราดมูลสัตว์เพื่อควบคุมแอมโมเนียที่ถูกปล่อยออกมาและลดกลิ่นแอมโมเนีย หรือใช้เป็นตัวยับยั้งเอนไซม์จุลินทรีย์และยูรีเอสเพื่อป้องกันการทำงานของจุลินทรีย์และเอนไซม์ในมูลสัตว์ที่ทำให้เกิดการปล่อยแอมโมเนียก็ได้เช่นกัน
 
อย่างไรก็ดี กลยุทธ์ทั้งหมดนี้อาจมีประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากการสะสมวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ความชื้นในวัสดุรองพื้นและมูลสัตว์, ชนิดของสัตว์ปีก, อุณหภูมิในโรงเรือน, โรคภัยต่างๆ หรือปัจจัยเหล่านี้รวมกัน
 
สรุป
การปล่อยสารแอมโมเนียจากมูลสัตว์ในฟาร์มสัตว์ปีกและก๊าซแอมโมเนียในโรงเรือนเป็นประเด็นที่ซับซ้อนในอุตสาหกรรมสัตว์ปีก แต่หากมีการถ่ายเทอากาศที่ดี การบริหารจัดการโรงเรือนที่ดี และใช้กลยุทธ์เพื่อลดการก่อตัวของก๊าซแอมโมเนียรวมกัน ก็จะสามารถเอาชนะปัญหานี้ได้สำเร็จ ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของปีก็ตาม 
ผลิตภัณฑ์
 
 
temp controller
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!