Menu Close
Evaporation Cooling System

โรงเรือนระบบปิด กับ การเพิ่มสมรรถภาพ การผลิตสัตว์

( Evaporation Cooling System with The Addition Capacity of Animal Product)

          โรงเรือนระบบปิด แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ํา(Evaporative cooling System; EVAP system) มีเป้าหมายเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนโดยการเพิ่มความชื้น โดยมีการพ่นน้ําผ่านทางแผ่นรังผึ้ง (Cooling pads) ซึ่งอยู่ทางด้านหนึ่งของโรงเรือน อากาศร้อนจากภายนอกถูกคูคผ่านทางแผ่นรังผึ้ง โดยพัดลม ซึ่งอยู่ทางด้านตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอีกด้านหนึ่งของโรงเรือนจะทําให้อุณหภูมิลดลงต่ํากว่าอุณหภูม ภายนอกโรงเรือนประมาณ 7 องศาเซลเซียส และเป็นการเพิ่มความชื้นในอากาศด้วย ในปัจจุบันฟาร์มมีการ ใช้โรงเรือนระบบปิดกับสัตว์ทุกชนิด ตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงระยะเริ่มต้นตลอดจนสัตว์ให้ผลผลิต ซึ่ง การใช้ โรงเรือนระบบปิค นี้ ให้ผลผลิตแตกต่างกับโรงเรือนระบบเปิดอย่างเห็นได้ชัด เช่น ในการเลี้ยงไก่ใน โรงเรือนระบบปิด
 
จะใช้ 12-14 ตัว/ตารางเมตร แต่โรงเรือนระบบเปิดใช้ได้เพียง 7-8 ตัว/ตารางเมตร ส่วน อาหารที่กินต่อตัวกินน้อยกว่า คือ โรงเรือนระบบปิดเท่ากับ 3.62 กิโลกรัม สําหรับโรงเรือนระบบเปิด เท่ากับ 3.95 กิโลกรัม และจํานวนวันเลี้ยงที่น้ําหนักไก่ 2 กิโลกรัม การเลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดใช้ 40 วัน โรงเรือนระบบเปิดใช้ 47 วัน ใน 1 ปีสามารถเลี้ยงไก่ได้ 6.63 รอบ สําหรับในสุกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้เช่นกัน การเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดให้น้ําหนักเฉลี่ย 135.65 กิโลกรัม/ตารางเมตร มากกว่าโรงเรือนระบบปิด คือ 125.12 กิโลกรัม/ตารางเมตร โรงเรือนระบบปิดเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับเกษตรกรที่จะเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิด
 

Temp controller

ประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มัก สร้างโรงเรือนเป็น โรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการ หมุนเวียนและระบาย อากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของ โรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยง บางชนิด เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหวเพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิ ของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้น
 
ประกอบกับการที่จะเพิ่มสมรรถภาพในการผลิตให้ เพิ่มขึ้นในแง่ของปริมาณ และคุณภาพ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดี โดยใช้ หลักการระบายความร้อนด้วยน้ําและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ  โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ํา ไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่น รังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน
 
ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้หลักการระเหยของน้ํา อย่างไรก็ตามการ ควบคุมและจัดการโรงเรือนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดก็เป็นสิ่งที่ทําได้ยาก ประกอบกับเกษตรกรเองยังขาด ความรู้ความเข้าใจ จึงควรจะมีการศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อช่วยให้มีความเข้าใจ และมีการโรงเรือน ระบบปิดมากขึ้น สําหรับรายละเอียดจะนําเสนอในลําดับต่อไป
 
ลักษณะและโรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling System)  โรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําสําหรับการเลี้ยงสัตว์เป็นโรงเรือนเลี้ยง สัตว์แบบปิคที่ใช้ระบบการระบายอากาศร่วมกับการทําความเย็นด้วยการระเหยน้ํา เป็นการนําเอาหลักการ  ระบายอากาศแบบอุโมงค์ลม (Tunnel Ventilation) การทําความเย็นด้วยวิธีระเหยน้ํา อุณหภูมิที่เกิดจาก ความเร็วลม (Effective Cooling) และหลักวิชาการสัตวบาล (Animal Husbandry) มาใช้ร่วมกันอย่าง เหมาะสม เป็นการเปลี่ยนความร้อนให้กลายเป็นความร้อนแฝง (Latent heat) ในการเพิ่มไอน้ําเพื่อลด อุณหภูมิในอากาศจากการเพิ่มขึ้นของความชื้นสัมพัทธ์และไอน้ําในอากาศเพื่อปรับปรุงสภาวะอากาศที่ใช้ ในการเลี้ยงสัตว์ตามชนิด เพศ พันธุ์ และอายุสัตว์ ให้มีความสุขสบายมากกว่าสภาวะอากาศตามธรรมชาติ เพื่อให้สัตว์มีสุขภาพดีให้ผลผลิตสูงและมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ศิขัณฑ์, 2554)
 

หลักการทํางานของ โรงเรือนระบบปิด

มานิตย์(2536) กล่าวว่า โรงเรือนระบบปิดมีหลักการทํางานซึ่งไม่ยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากนัก ถ้าหากเข้าใจระบบการทํางานแล้วผู้เลี้ยงสัตว์ก็สามารถที่จะติดตั้ง โรงเรือนระบบปิดได้ และได้กล่าวถึง หลักการทํางานของโรงเรือน ว่า ขนาดของโรงเรือนที่มาตรฐาน คือ กว้าง12เมตร ยาว120เมตร โครงสร้าง ทั้งหมดทําด้วยเหล็กฉาก วัสดุที่นํามาใช้คลุมหลังคาโรงเรือน ทําด้วยแผ่นสังกะสีฉาบด้วยกาลวาไนส์ ภายใต้ หลังคามุงด้วยฉนวนใยแก้วกันความร้อน 
 

Temp controller

ด้านใต้ไยแก้วบุด้วยแผ่นพลาสติกไวนิล เพื่อป้องกันการแผ่รังสี ความร้อนจากหลังคา ถัดลงมาจากแผ่นกันความร้อน จะมีแผ่นชิงลมติดเป็นระยะทุกๆ 12เมตร เพื่อดักลม ด้านบน ให้พัดลมพัดผ่านอย่างสม่ําเสมอ ศิขัณฑ์(2554) กล่าวว่าผนังโรงเรือนด้านหน้าและท้ายโรงเรือนปิดทึบ ส่วนผนังด้านข้างทั้งสองก่อ ด้วยอิฐ สูงประมาณ 60 เซนติเมตร เปิดช่องลมและปิดด้วยผ้าม่านพลาสติกขนาด 1.20 เมตร และมีตาข่าย อย่างที่ล้อมรอบผนังด้านข้าง เปิดประตูหน้า-หลัง และด้านกลางของโรงเรือนด้วย นอกจากนั้น ประเสริฐ (2546) กล่าวถึงแผ่นรังผึ้งเป็นส่วนสําคัญที่ปรับให้อุณหภูมิลดลง ดังภาพที่ 1 ซึ่งทําด้วยกระดาษ สังเคราะห์ พิเศษ มีความทนทาน มีความหนาสองขนาดคือ ขนาดหนา 10 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ความสูงของ แผ่นรังผึ้ง 180 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 15 เมตร และ 21.6 เมตร ต่อโรงเรือน การติดแผ่น รังผึ้งจะติด ด้านเดียวหรือสองค้านก็ได้แต่การติคสองด้านนั้นการไหลเวียนของอากาศจะทั่วถึงและ สม่ําเสมอ ดีกว่าติด ค้านเดียว
 
มานิตย์(2536) พัดลมที่ใช้จะติดตั้งอยู่ในโรงเรือนด้านหลัง ตรงข้ามกับแผ่นรังผึ้ง มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 48 นิ้ว จํานวน 8 เครื่อง โดยมีตัวควบคุมอุณหภูมิอยู่ ถ้าโรงเรือนมีพัดลม10 เครื่อง จะมีตัว คุมอุณหภูมิ 1 ตัวเพราะอีก 1 ตัวนั้น สําหรับควบคุมอุณหภูมิการเปิดปิดน้ําของเครื่องปั้มน้ํา โดยในสภาพที่ อุณหภูมิทั่วไป พัดลมจะเปิดทํางาน 1 เครื่อง อยู่ตลอดเวลาและพัดลมที่เหลือจะทํางานเมื่ออุณหภูมิสูงกว่าที่ เครื่องควบคุมอุณหภูมิกําหนดไว้ 
 
เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 60 F พัดลมเครื่องที่ 2 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 72 °F พัดลมเครื่องที่ 3 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 74 °F พัดลมเครื่องที่ 4 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า76 °F พัดลมเครื่องที่ 5 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 78 °F พัดลมเครื่องที่ 6 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 80 °F พัดลมเครื่องที่ 7 จะทํางาน และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 82 °F พัดลมเครื่องที่ 8 จะทํางาน ในกรณีที่โรงเรือนมีพัดลม 10 เครื่อง จะตั้งตัวควบคุมพัดลมที่อุณหภูมิช่วงระหว่าง 60 °F – 72 °F อีก 2 เครื่อง เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลงไป 
 
ระบบอัตโนมัติที่ติดตั้งไว้จะทํางานเพื่อปรับสภาพอากาศและอุณหภูมิในโรงเรือนให้คงที่ตลอดเวลา และจะมีการหมุนเวียนอากาศ ดังภาพที่ 2 และความชื้นใช้ เครื่อง Hygrometer และ Thermometer ควรมีความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนระบบปิดต้องมีประมาณร้อยละ 70-80 เท่านั้น และ Watt (1963) ได้แนะนําขนาดของปั้มน้ําสําหรับโรงเรือนระบบปิด ต้องสามารถจ่ายน้ําได้ 7.5เท่าของปริมาณน้ําที่ระเหย ดังนั้นการควบสภาวะอากาศในโรงเรือนจึงต้องทําให้พัดลมและปั้มน้ํา ทํางานสัมพันธกันอย่างดี เพื่อการควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ หรือทําให้ สัตว์เกิดความเครียดน้อยสุด
 
 

สมรรถภาพการให้ผลผลิตของสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิด

ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า การทําความเย็นด้วยระบบ Evaporative cooling สําหรับโรงเรือนเลี้ยง สัตว์ระบบปิคนั้นมีข้อดีหลายประการ แสดงเปรียบเทียบคุณประโยชน์ของการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนปิดและ
โรงเรือนเปิดแบบมาตรฐาน โดยการเปรียบเทียบคุณประโยชน์การเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรือนระบบปิด โดยจะมี ความจุของการเลี้ยงที่แตกต่างกัน โดยโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตราความจะมากกว่า 5 ตัว/ตร.ม อุณหภูมิของ โรงเรือนระบบปิดจะมีอุณหภูมิที่ต่ํากว่าประมาณ 7 ซ อาหารที่กิน/ตัว เมื่อน้ําหนักไก่ 2 กก. ไก่ที่เลี้ยง
 
โรงเรือนระบบปิดจะกินอาหารน้อยกว่าประมาณ 0.30 กก. ค่ายารักษาโรคโรงเรือนระบบปิดจะใช้น้อยกว่า ประมาณ 0.40 บาท เปอร์เซ็นต์ไก่ตายของโรงเรือนระบบปิคจะน้อยกว่าประมาณร้อยละ 2 จํานวนวันเลี้ยง ไก่เมื่อน้ําหนักถึง 2 กก. โรงเรือนระบบปิคจะใช้เวลาน้อยกว่าประมาณ 7 วัน และรอบการผลิตปี ของ โรงเรือนระบบปิดจะผลิตไก่ในจํานวนรอบปี มากกว่าประมาณ 0.75 รอบปี ดังที่แสดงในตารางที่ 1
 
 
นอกจากนั้น ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า ปัจจุบันฟาร์มสุกรบางส่วนได้เริ่มๆมีการใช้โรงเรือนระบบ ปิดสุกรขุนเป็นส่วนใหญ่และยังใช้กับสุกรแม่พันธุ์ในทุกช่วงของการผลิตคือตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงสุกร
สาวแม่สุกรอุ้มท้องตลอดจนแม่สุกรคลอดและลูกสุกรหย่านมซึ่งการใช้โรงเรือนระบบปิคนี้คาดว่ามี ผลกระทบต่อสมรรถภาพทางระบบสืบพันธุ์ของแม่สุกรร่วมกับปัจจัยอื่นซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับ
เกษตรกรที่จะเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ในโรงเรือนระบบปิด และการเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตรา การผลิตที่ดีกว่า ดังตารงที่ 2
 
จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ที่เป็นคัชนีที่แสดงถึงประสิทธิภาพทางเทคนิคของอุตสาหกรรมการ ผลิตสุกรขุนในโรงเรือนระบบเปิด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยมากกว่าโรงเรือนระบบปิดที่แตกต่างกันเท่ากับ 6.18 ซึ่ง แสดงว่าดัชนีการผลิตสุกรขุนของโรงเรือนระบบปิดดีกว่า ค่าเฉลี่ยน้ําหนักสุกรที่เลี้ยงเป็นกิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ยมากกว่า เท่ากับ 60.53 ซึ่งแสดงว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถเลี้ยงสุกรได้คิด เป็นน้ําหนักต่อพื้นที่การเลี้ยงได้เป็นจํานวนมากกว่า ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การผลิตใน โรงเรือนแบบปิดมากกว่าเท่ากับ 2,523,335 แสดงว่าปริมาณการเลี้ยงสุกรขุนของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ต่ํา กว่าระดับการผลิต ที่จําทําให้ได้กําไรสูงสุดตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ ค่าเฉลี่ยต้นทุนเป็นบาทต่อ น้ําหนักสุกร 1 กิโลกรัม โรงเรือนระบบเปิดจะมีค่าเฉลี่ยต้นทุนมากกว่าเท่ากับ 1.21. บาท ต่อน้ําหนักสุกร หนึ่งกิโลกรัม และผลการคํานวณผลตอบแทนเฉลี่ยเป็นบาทต่อน้ําหนักสุกรที่ 1 กิโลกรัม 
 

Temp controller

ชี้ให้เห็นว่า โรงเรือนระบบปิดมีกําไรเฉลี่ยต่อน้ําหนักสุกรขุนที่ 1 กิโลกรัม มากกว่าเท่ากับ 1.17 บาท แสดงว่าเทคโนโลยี ของโรงเรือนระบบปิดให้ผลตอบแทนกําไรต่อน้ําหนักเป็นกิโลกรัมมากกว่าโรงเรือนระบบเปิด (ศรีสุวรรณ ,2543) อรรณพ (2551) ได้กล่าวถึงโรงเรือนระบบปิดที่มีผลต่อแม่สุกร กล่าวว่า โดยทั่วไปแล้วแม่สุกรท้อง แรกจะอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและความชื้นมากกว่าแม่สุกรที่ให้ลูกมาแล้วหลายท้อง นอกจากนี้ยังพบว่าผลร่วมของความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความชื้นต่อลักษณะทางระบบสืบพันธุ์ ของแม่สุกร โดยส่วนมากไม่พบว่ามีนัยสําคัญทางสถิติหรือมีนัยสําคัญทางสถิติในระดับต่ําจะเห็นว่า จํานวน ลูกเกิดทั้งหมดต่อครอก (Total born, TB) จํานวนลูกเกิดมีชีวิตต่อครอก(Born alive, BA) และจํานวนลูกตาย แรกคลอด (Still born, SB) ของโรงเรือนระบบปิดมีค่ามากกว่าโรงเรือนระบบเปิดและในบางกรณีพบว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากลักษณะร่วมกันของอุณหภูมิและความชื้น (combine effect)  
 
ที่แสดงออกนั้นมี ลักษณะที่ไม่มีความคงที่คือมีทั้งในด้านที่เพิ่มขึ้นหรือในด้านที่ลดลง ดังแสดงใน ภาพที่ 3 จะเห็นได้ว่าไม่ใช่แต่เพียงการเพิ่มอุณหภูมิเพียงอย่างเดียวการเพิ่มความชื้นในสิ่งแวดล้อมก็ส่งผลใน ด้านลบที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตของแม่สุกรจากลักษณะข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นที่ได้จาก การศึกษาสามารถบอกได้ว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถที่จะลดระดับของอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้ต่ํากว่า ภายนอกได้ค่อนข้างดีและพบว่ามีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิในระดับที่ใกล้เคียงกันกับการศึกษา
ในโรงเรือนพ่อ พันธุ์ (Suriyasomboon และคณะ,2004)
 
ซึ่งจากการศึกษาของ Suriyasomboon และคณะ (2006) พบว่าฟาร์มที่มีการเลี้ยงพ่อพันธุ์ ใน โรงเรือนระบบปิดแล้วมีการนําน้ําเชื้อไปผสมกับแม่สุกรที่เลี้ยงอยู่ในโรงเรือนเปิดจะได้ขนาดครอกของลูก
สุกรที่มากกว่าฟาร์มที่ใช้น้ําเชื้อจากพ่อพันธุ์สุกรที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด และในการศึกษาของ อรรณพ (2551) พบว่าผลร่วมของฤดูกาลและโรงเรือนสําหรับแม่สุกรมีนัยสําคัญทางสถิติจํานวนลูกเกิดทั้งหมคต่อ ครอก (Total born, TB)ในโรงเรือนปิดมีขนาดครอกที่ใหญ่กว่าโรงเรือนเปิดตลอดทุกช่วงเวลาของปีซึ่ง สามารถบอกได้ถึงความแตกต่างในเรื่องของระดับความเครียดเนื่องมาจากอุณหภูมิและความชื้นที่แม่สุกร ได้รับเนื่องจากอัตราส่วนของการมีช่วงอุณหภูมิและความชื้นในแบบเย็นสบาย (Thermal comfort Zone) 
 
สําหรับแม่สุกรในโรงเรือนปิคมีมากกว่าในโรงเรือนระบบเปิดซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Tompkins และคณะ (1967) และ Omtvedt และคณะ (1971) ที่แม่สุกรอยู่ในช่วงอากาศแบบเย็นสบายจะมีจํานวนลูก สุกรแรกเกิดมีชีวิตที่มากกว่าแม่สุกรที่ได้รับความเครียดเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น ข้อดีของโรงเรือนระบบปิด ในการเลี้ยงสุกรโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําอากาศในโรงเรือนระบบ ปิดจะไม่มีความแตกต่างกันมากนักระหว่างกลางวันและกลางคืนทําให้สัตว์มีความเครียดลดลง โดยไม่ต้อง ผจญกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศอย่างรวดเร็วเป็นการลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและลด อัตราการตายซึ่งอุณหภูมิที่สูงจะก่อให้เกิดความเครียดจะเชื่อมโยงกับความสามารถในการสืบพันธุ์ของแม่ สุกรในบางฤดูกาล โดยในประเทศไทยมีอุณหภูมิมากกว่า 30 องศาเซลเซียสในบางเดือนของปี(Tantasuparuk, 2000) 
 
นอกจากนั้น แผ่นกระดาษที่เปียกชื้นจะช่วยจับฝุ่นผง ลดการแพร่ของเชื้อโรคที่ติดมา กับฝุ่นผงได้ และเชื้อโรคจะไม่สามารถติดไปตามการระเหยของน้ํา (ศิขัณฑ์, 2554) การหมุนเวียนอากาศ ภายในโรงเรือนสม่ําเสมอมากอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบาย เอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้นๆเท่านั้นเป็นการลดปัญหาระคับแอมโมเนียในโรงเรือนได้

ข้อเสียและข้อพึงระวังของ โรงเรือนระบบปิด

การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง การไม่เข้าใจในระบบและการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องจะนําไปสู่ความ เสียหายที่มากกว่าการเลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด เช่น อากาศที่แห้งในฤดูหนาวจะทําให้เศษอุจจาระที่ติดกับ พื้นคอก
เศษอาหารที่สัตว์กินหกและเหยียบย่ําจนแตกละเอียดเป็นผง เมื่อถูกพัดลมดูดให้อากาศเคลื่อนที่ใน โรงเรือนปิค จะมีละอองจากอุจจาระและอาหารปลิวไปทั่วโรงเรือนในปริมาณมาก มีผลโดยตรงต่อระบบ ทางเดินหายใจของสัตว์ รวมทั้งระดับความชื้นภายในโรงเรือนค่อนข้างสูง อาจส่งผลให้เชื้อราเจริญเติบโต ได้ดีและส่งผลให้เกิดโรคไรขี้เรื้อนในโรงเรือนระบบปิด (ศิขัณฑ์, 2554)
สมโภชน์ (2555) กล่าวว่า ความเครียดที่สะสมจากพยาธิภายนอกที่ดูดเลือด กัดกินและชอนไชในรู ขุมขนสร้างความทรมาน และก่อให้เกิดความรําคาญตลอดเวลา ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคลดลงและก่อให้โรคอื่น ตามมาได้ทุกโรคการเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดูสภาพของ โรงเรือนและจํานวนอุปกรณ์ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ํากว่ามาตรฐานได้
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโรงเรือนระบบปิด ในโรงเรือนระปิดมีการใช้กระแสไฟฟ้า และทรัพยากรน้ําในปริมาณที่มาก จึงจําเป็นต้องมีระบบ สํารองกระแสไฟฟ้าและแหล่งน้ําสํารอง สําหรับใช้ในการผลิตของฟาร์ม โดยต้องเป็นน้ําที่ผ่านการฆ่าเชื้อ แล้ว และควรมีระบบเตือนภัยเมื่อกระแสไฟฟ้าดับ หรือเมื่อปริมาณน้ําไม่เพียงพอ และต้องมีเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงานตลอดเวลา เพื่อการแก้ไขที่ทันท่วงที หากเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการผลิตของ ฟาร์ม (สมพงษ์, 2546) 
 

Temp controller

การเลี้ยงสัตว์ด้วยโรงเรือนระบบปิค (Evaporative cooling System) แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ําสําหรับสัตว์ทําให้สัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดให้ผลผลิตมากกว่าสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบ เปิดสามารถเลี้ยงสัตว์ได้มากกว่า ลดปริมาณการกินอาหาร ลดจํานวนวันในการเลี้ยง และเพิ่มน้ําหนักได้ มากกว่าในสุกรขุน เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิภายในโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ํา มีค่าค่อนข้างคงที่และมีความแปรปรวนของระดับอุณหภูมิและความชื้นในแต่ละวันที่น้อยกว่าใน โรงเรือนระบบเปิด สําหรับโรงเรือนระบบปิดสามารถใช้ได้กับสัตว์ทุกชนิด โดยเฉพาะในไก่เนื้อ ไก่ไข่ และ สุกรระยะต่างๆ

#เครื่องควบคุมอุณภูมิ 

ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล
นายจารุวฒั น์ ดอนหนู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมคิด ชัยเพชร อาจารย์ทปี่ รึกษา
สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 
 
 
 
 

โรงเรือนระบบปิด กับ การเพิ่มสมรรถภาพ การผลิตสัตว์

( Evaporation Cooling System with The Addition Capacity of Animal Product )

    โรงเรือนระบบปิด แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ํา(Evaporative cooling System; EVAP system) มีเป้าหมายเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนโดยการเพิ่มความชื้น โดยมีการพ่นน้ําผ่านทางแผ่นรังผึ้ง (Cooling pads) ซึ่งอยู่ทางด้านหนึ่งของโรงเรือน อากาศร้อนจากภายนอกถูกคูคผ่านทางแผ่นรังผึ้ง โดยพัดลม ซึ่งอยู่ทางด้านตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอีกด้านหนึ่งของโรงเรือน จะทําให้อุณหภูมิลดลงต่ํากว่าอุณหภูม ภายนอกโรงเรือนประมาณ 7 องศาเซลเซียส และเป็นการเพิ่มความชื้นในอากาศด้วย ในปัจจุบันฟาร์มมีการ ใช้โรงเรือนระบบปิดกับสัตว์ทุกชนิด
ตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงระยะเริ่มต้นตลอดจนสัตว์ให้ผลผลิต ซึ่ง การใช้ โรงเรือนระบบปิค นี้ ให้ผลผลิตแตกต่างกับโรงเรือนระบบเปิดอย่างเห็นได้ชัด เช่น ในการเลี้ยงไก่ใน โรงเรือนระบบปิด
 
จะใช้ 12-14 ตัว/ตารางเมตร แต่โรงเรือนระบบเปิดใช้ได้เพียง 7-8 ตัว/ตารางเมตร ส่วน อาหารที่กินต่อตัวกินน้อยกว่า คือ โรงเรือนระบบปิดเท่ากับ 3.62 กิโลกรัม สําหรับโรงเรือนระบบเปิด
เท่ากับ 3.95 กิโลกรัม และจํานวนวันเลี้ยงที่น้ําหนักไก่ 2 กิโลกรัม การเลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดใช้ 40 วัน โรงเรือนระบบเปิดใช้ 47 วัน ใน 1 ปีสามารถเลี้ยงไก่ได้ 6.63 รอบ สําหรับในสุกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้เช่นกัน การเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดให้น้ําหนักเฉลี่ย 135.65 กิโลกรัม/ตารางเมตร มากกว่าโรงเรือนระบบปิด คือ 125.12 กิโลกรัม/ตารางเมตร โรงเรือนระบบปิดเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับเกษตรกรที่จะเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิด
 
ประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มัก สร้างโรงเรือนเป็น โรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการ
หมุนเวียนและระบาย อากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของ โรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยง บางชนิด เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหวเพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิ ของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้น
 
ประกอบกับการที่จะเพิ่มสมรรถภาพในการผลิตให้ เพิ่มขึ้นในแง่ของปริมาณ และคุณภาพ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดี โดยใช้ หลักการระบายความร้อนด้วยน้ําและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ  โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ํา ไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่น รังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน
ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้หลักการระเหยของน้ํา อย่างไรก็ตามการ ควบคุมและจัดการโรงเรือนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดก็เป็นสิ่งที่ทําได้ยาก ประกอบกับเกษตรกรเองยังขาด ความรู้ความเข้าใจ
จึงควรจะมีการศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อช่วยให้มีความเข้าใจ และมีการโรงเรือน ระบบปิดมากขึ้น สําหรับรายละเอียดจะนําเสนอในลําดับต่อไป
 
ลักษณะและโรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling System)  โรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําสําหรับการเลี้ยงสัตว์เป็นโรงเรือนเลี้ยง สัตว์แบบปิคที่ใช้ระบบการระบายอากาศร่วมกับการทําความเย็นด้วยการระเหยน้ํา เป็นการนําเอาหลักการ  ระบายอากาศแบบอุโมงค์ลม (Tunnel Ventilation) การทําความเย็นด้วยวิธีระเหยน้ํา อุณหภูมิที่เกิดจาก ความเร็วลม (Effective Cooling) และหลักวิชาการสัตวบาล (Animal Husbandry) มาใช้ร่วมกันอย่าง เหมาะสม เป็นการเปลี่ยนความร้อนให้กลายเป็นความร้อนแฝง (Latent heat) ในการเพิ่มไอน้ําเพื่อลด อุณหภูมิในอากาศจากการเพิ่มขึ้นของความชื้นสัมพัทธ์และไอน้ําในอากาศเพื่อปรับปรุงสภาวะอากาศที่ใช้ ในการเลี้ยงสัตว์ตามชนิด เพศ พันธุ์ และอายุสัตว์ ให้มีความสุขสบายมากกว่าสภาวะอากาศตามธรรมชาติ เพื่อให้สัตว์มีสุขภาพดีให้ผลผลิตสูงและมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ศิขัณฑ์, 2554)
 
Temp controller

 

หลักการทํางานของ โรงเรือนระบบปิด

มานิตย์(2536) กล่าวว่า โรงเรือนระบบปิดมีหลักการทํางานซึ่งไม่ยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากนัก ถ้าหากเข้าใจระบบการทํางานแล้วผู้เลี้ยงสัตว์ก็สามารถที่จะติดตั้ง โรงเรือนระบบปิดได้ และได้กล่าวถึง หลักการทํางานของโรงเรือน ว่า ขนาดของโรงเรือนที่มาตรฐาน คือ กว้าง12เมตร ยาว120เมตร โครงสร้าง ทั้งหมดทําด้วยเหล็กฉาก วัสดุที่นํามาใช้คลุมหลังคาโรงเรือน ทําด้วยแผ่นสังกะสีฉาบด้วยกาลวาไนส์ ภายใต้ หลังคามุงด้วยฉนวนใยแก้วกันความร้อน ด้านใต้ไยแก้วบุด้วยแผ่นพลาสติกไวนิล เพื่อป้องกันการแผ่รังสี ความร้อนจากหลังคา ถัดลงมาจากแผ่นกันความร้อน จะมีแผ่นชิงลมติดเป็นระยะทุกๆ 12เมตร เพื่อดักลม ด้านบน 
 
ให้พัดลมพัดผ่านอย่างสม่ําเสมอ ศิขัณฑ์(2554) กล่าวว่าผนังโรงเรือนด้านหน้าและท้ายโรงเรือนปิดทึบ ส่วนผนังด้านข้างทั้งสองก่อ ด้วยอิฐ สูงประมาณ 60 เซนติเมตร เปิดช่องลมและปิดด้วยผ้าม่านพลาสติกขนาด 1.20 เมตร และมีตาข่าย อย่างที่ล้อมรอบผนังด้านข้าง เปิดประตูหน้า-หลัง และด้านกลางของโรงเรือนด้วย นอกจากนั้น ประเสริฐ (2546) กล่าวถึงแผ่นรังผึ้งเป็นส่วนสําคัญที่ปรับให้อุณหภูมิลดลง ดังภาพที่ 1 ซึ่งทําด้วยกระดาษ สังเคราะห์ พิเศษ มีความทนทาน มีความหนาสองขนาดคือ ขนาดหนา 10 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ความสูงของ แผ่นรังผึ้ง 180 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 15 เมตร และ 21.6 เมตร ต่อโรงเรือน การติดแผ่น รังผึ้งจะติด ด้านเดียวหรือสองค้านก็ได้ แต่การติคสองด้านนั้นการไหลเวียนของอากาศจะทั่วถึงและ สม่ําเสมอ ดีกว่าติด ค้านเดียว
 
 
มานิตย์(2536) พัดลมที่ใช้จะติดตั้งอยู่ในโรงเรือนด้านหลัง ตรงข้ามกับแผ่นรังผึ้ง มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 48 นิ้ว จํานวน 8 เครื่อง โดยมีตัวควบคุมอุณหภูมิอยู่ ถ้าโรงเรือนมีพัดลม10 เครื่อง จะมีตัว คุมอุณหภูมิ 1 ตัวเพราะอีก 1 ตัวนั้น สําหรับควบคุมอุณหภูมิการเปิดปิดน้ําของเครื่องปั้มน้ํา โดยในสภาพที่ อุณหภูมิทั่วไป พัดลมจะเปิดทํางาน 1 เครื่อง อยู่ตลอดเวลาและพัดลมที่เหลือจะทํางานเมื่ออุณหภูมิสูงกว่าที่ เครื่องควบคุมอุณหภูมิกําหนดไว้ เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 60 F พัดลมเครื่องที่ 2 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 72 °F พัดลมเครื่องที่ 3 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 74 °F พัดลมเครื่องที่ 4 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า76 °F พัดลมเครื่องที่ 5 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 78 °F พัดลมเครื่องที่ 6 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 80 °F พัดลมเครื่องที่ 7 จะทํางาน และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 82 °F พัดลมเครื่องที่ 8 จะทํางาน ในกรณีที่โรงเรือนมีพัดลม 10 เครื่อง จะตั้งตัวควบคุมพัดลมที่อุณหภูมิช่วงระหว่าง 60 °F – 72 °F อีก 2 เครื่อง เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลงไป ระบบอัตโนมัติที่ติดตั้งไว้จะทํางาน
 
เพื่อปรับสภาพอากาศและอุณหภูมิในโรงเรือนให้คงที่ตลอดเวลา และจะมีการหมุนเวียนอากาศ ดังภาพที่ 2 และความชื้นใช้ เครื่อง Hygrometer และ Thermometer ควรมีความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนระบบปิดต้องมีประมาณร้อยละ 70-80 เท่านั้น และ Watt (1963) ได้แนะนําขนาดของปั้มน้ําสําหรับโรงเรือนระบบปิด ต้องสามารถจ่ายน้ําได้ 7.5เท่าของปริมาณน้ําที่ระเหย ดังนั้นการควบสภาวะอากาศในโรงเรือนจึงต้องทําให้พัดลมและปั้มน้ํา ทํางานสัมพันธกันอย่างดี เพื่อการควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ หรือทําให้ สัตว์เกิดความเครียดน้อยสุด
 
 

สมรรถภาพการให้ผลผลิตของสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิด

ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า การทําความเย็นด้วยระบบ Evaporative cooling สําหรับโรงเรือนเลี้ยง สัตว์ระบบปิคนั้นมีข้อดีหลายประการ แสดงเปรียบเทียบคุณประโยชน์ของการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนปิดและ
โรงเรือนเปิดแบบมาตรฐาน โดยการเปรียบเทียบคุณประโยชน์การเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรือนระบบปิด โดยจะมี ความจุของการเลี้ยงที่แตกต่างกัน โดยโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตราความจะมากกว่า 5 ตัว/ตร.ม อุณหภูมิของ โรงเรือนระบบปิดจะมีอุณหภูมิที่ต่ํากว่าประมาณ 7 ซ อาหารที่กิน/ตัว เมื่อน้ําหนักไก่ 2 กก. ไก่ที่เลี้ยง
 

Temp controller

โรงเรือนระบบปิดจะกินอาหารน้อยกว่าประมาณ 0.30 กก. ค่ายารักษาโรคโรงเรือนระบบปิดจะใช้น้อยกว่า ประมาณ 0.40 บาท เปอร์เซ็นต์ไก่ตายของโรงเรือนระบบปิคจะน้อยกว่าประมาณร้อยละ 2 จํานวนวันเลี้ยง ไก่เมื่อน้ําหนักถึง 2 กก. โรงเรือนระบบปิคจะใช้เวลาน้อยกว่าประมาณ 7 วัน และรอบการผลิตปี ของ โรงเรือนระบบปิดจะผลิตไก่ในจํานวนรอบปี มากกว่าประมาณ 0.75 รอบปี ดังที่แสดงในตารางที่ 1
 
นอกจากนั้น ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า ปัจจุบันฟาร์มสุกรบางส่วนได้เริ่มๆมีการใช้โรงเรือนระบบ ปิดสุกรขุนเป็นส่วนใหญ่และยังใช้กับสุกรแม่พันธุ์ในทุกช่วงของการผลิตคือตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงสุกร
สาวแม่สุกรอุ้มท้องตลอดจนแม่สุกรคลอดและลูกสุกรหย่านมซึ่งการใช้โรงเรือนระบบปิคนี้คาดว่ามี ผลกระทบต่อสมรรถภาพทางระบบสืบพันธุ์ของแม่สุกรร่วมกับปัจจัยอื่นซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับ
เกษตรกรที่จะเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ในโรงเรือนระบบปิด และการเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตรา การผลิตที่ดีกว่า ดังตารงที่ 2
 
 
จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ที่เป็นคัชนีที่แสดงถึงประสิทธิภาพทางเทคนิคของอุตสาหกรรมการ ผลิตสุกรขุนในโรงเรือนระบบเปิด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยมากกว่าโรงเรือนระบบปิดที่แตกต่างกันเท่ากับ 6.18 ซึ่ง
แสดงว่าดัชนีการผลิตสุกรขุนของโรงเรือนระบบปิดดีกว่า ค่าเฉลี่ยน้ําหนักสุกรที่เลี้ยงเป็นกิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ยมากกว่า เท่ากับ 60.53 ซึ่งแสดงว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถเลี้ยงสุกรได้คิด เป็นน้ําหนักต่อพื้นที่การเลี้ยงได้เป็นจํานวนมากกว่า ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การผลิตใน โรงเรือนแบบปิดมากกว่าเท่ากับ 2,523,335 แสดงว่าปริมาณการเลี้ยงสุกรขุนของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ต่ํา กว่าระดับการผลิต ที่จําทําให้ได้กําไรสูงสุดตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ ค่าเฉลี่ยต้นทุนเป็นบาทต่อ น้ําหนักสุกร 1 กิโลกรัม โรงเรือนระบบเปิดจะมีค่าเฉลี่ยต้นทุนมากกว่าเท่ากับ 1.21. บาท ต่อน้ําหนักสุกร หนึ่งกิโลกรัม และผลการคํานวณผลตอบแทนเฉลี่ยเป็นบาทต่อน้ําหนักสุกรที่ 1 กิโลกรัม ชี้ให้เห็นว่า โรงเรือนระบบปิดมีกําไรเฉลี่ยต่อน้ําหนักสุกรขุนที่ 1 กิโลกรัม มากกว่าเท่ากับ 1.17 บาท แสดงว่าเทคโนโลยี 
 
ของโรงเรือนระบบปิดให้ผลตอบแทนกําไรต่อน้ําหนักเป็นกิโลกรัมมากกว่าโรงเรือนระบบเปิด (ศรีสุวรรณ ,2543) อรรณพ (2551) ได้กล่าวถึงโรงเรือนระบบปิดที่มีผลต่อแม่สุกร กล่าวว่า โดยทั่วไปแล้วแม่สุกรท้อง แรกจะอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและความชื้นมากกว่าแม่สุกรที่ให้ลูกมาแล้วหลายท้อง นอกจากนี้ยังพบว่าผลร่วมของความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความชื้นต่อลักษณะทางระบบสืบพันธุ์ ของแม่สุกร โดยส่วนมากไม่พบว่ามีนัยสําคัญทางสถิติหรือมีนัยสําคัญทางสถิติในระดับต่ําจะเห็นว่า จํานวน ลูกเกิดทั้งหมดต่อครอก (Total born, TB) จํานวนลูกเกิดมีชีวิตต่อครอก(Born alive, BA) และจํานวนลูกตาย แรกคลอด (Still born, SB) ของโรงเรือนระบบปิดมีค่ามากกว่าโรงเรือนระบบเปิดและในบางกรณีพบว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากลักษณะร่วมกันของอุณหภูมิและความชื้น (combine effect)  ที่แสดงออกนั้นมี ลักษณะที่ไม่มีความคงที่คือมีทั้งในด้านที่เพิ่มขึ้นหรือในด้านที่ลดลง ดังแสดงใน ภาพที่ 3 จะเห็นได้ว่าไม่ใช่แต่เพียงการเพิ่มอุณหภูมิเพียงอย่างเดียวการเพิ่มความชื้นในสิ่งแวดล้อมก็ส่งผลใน ด้านลบที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตของแม่สุกรจากลักษณะข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นที่ได้จาก การศึกษาสามารถบอกได้ว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถที่จะลดระดับของอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้ต่ํากว่า ภายนอกได้ค่อนข้างดีและพบว่ามีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิในระดับที่ใกล้เคียงกันกับการศึกษา
ในโรงเรือนพ่อ พันธุ์ (Suriyasomboon และคณะ,2004)
 
ซึ่งจากการศึกษาของ Suriyasomboon และคณะ (2006) พบว่าฟาร์มที่มีการเลี้ยงพ่อพันธุ์ ใน โรงเรือนระบบปิดแล้วมีการนําน้ําเชื้อไปผสมกับแม่สุกรที่เลี้ยงอยู่ในโรงเรือนเปิดจะได้ขนาดครอกของลูก
สุกรที่มากกว่าฟาร์มที่ใช้น้ําเชื้อจากพ่อพันธุ์สุกรที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด และในการศึกษาของ อรรณพ (2551) พบว่าผลร่วมของฤดูกาลและโรงเรือนสําหรับแม่สุกรมีนัยสําคัญทางสถิติจํานวนลูกเกิดทั้งหมคต่อ ครอก (Total born, TB)ในโรงเรือนปิดมีขนาดครอกที่ใหญ่กว่าโรงเรือนเปิดตลอดทุกช่วงเวลาของปีซึ่ง สามารถบอกได้ถึงความแตกต่างในเรื่องของระดับความเครียดเนื่องมาจากอุณหภูมิและความชื้นที่แม่สุกร
 

Temp controller

 ได้รับเนื่องจากอัตราส่วนของการมีช่วงอุณหภูมิและความชื้นในแบบเย็นสบาย (Thermal comfort Zone) สําหรับแม่สุกรในโรงเรือนปิคมีมากกว่าในโรงเรือนระบบเปิดซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Tompkins และคณะ (1967) และ Omtvedt และคณะ (1971) ที่แม่สุกรอยู่ในช่วงอากาศแบบเย็นสบายจะมีจํานวนลูก สุกรแรกเกิดมีชีวิตที่มากกว่าแม่สุกรที่ได้รับความเครียดเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น ข้อดีของโรงเรือนระบบปิด ในการเลี้ยงสุกรโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําอากาศในโรงเรือนระบบ ปิดจะไม่มีความแตกต่างกันมากนักระหว่างกลางวันและกลางคืนทําให้สัตว์มีความเครียดลดลง โดยไม่ต้อง ผจญกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศอย่างรวดเร็วเป็นการลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและลด อัตราการตายซึ่งอุณหภูมิที่สูงจะก่อให้เกิดความเครียดจะเชื่อมโยงกับความสามารถในการสืบพันธุ์ของแม่ สุกรในบางฤดูกาล โดยในประเทศไทยมีอุณหภูมิมากกว่า 30 องศาเซลเซียสในบางเดือนของปี
 
(Tantasuparuk, 2000) นอกจากนั้น แผ่นกระดาษที่เปียกชื้นจะช่วยจับฝุ่นผง ลดการแพร่ของเชื้อโรคที่ติดมา กับฝุ่นผงได้ และเชื้อโรคจะไม่สามารถติดไปตามการระเหยของน้ํา (ศิขัณฑ์, 2554)
การหมุนเวียนอากาศ ภายในโรงเรือนสม่ําเสมอมากอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบาย เอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้นๆเท่านั้นเป็นการลดปัญหาระคับแอมโมเนียในโรงเรือนได้
 

ข้อเสียและข้อพึงระวังของ โรงเรือนระบบปิด

การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง การไม่เข้าใจในระบบและการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องจะนําไปสู่ความ เสียหายที่มากกว่าการเลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด เช่น อากาศที่แห้งในฤดูหนาวจะทําให้เศษอุจจาระที่ติดกับ พื้นคอก
เศษอาหารที่สัตว์กินหกและเหยียบย่ําจนแตกละเอียดเป็นผง เมื่อถูกพัดลมดูดให้อากาศเคลื่อนที่ใน โรงเรือนปิค จะมีละอองจากอุจจาระและอาหารปลิวไปทั่วโรงเรือนในปริมาณมาก มีผลโดยตรงต่อระบบ ทางเดินหายใจของสัตว์ รวมทั้งระดับความชื้นภายในโรงเรือนค่อนข้างสูง อาจส่งผลให้เชื้อราเจริญเติบโต ได้ดีและส่งผลให้เกิดโรคไรขี้เรื้อนในโรงเรือนระบบปิด (ศิขัณฑ์, 2554)
 
สมโภชน์ (2555) กล่าวว่า ความเครียดที่สะสมจากพยาธิภายนอกที่ดูดเลือด กัดกินและชอนไชในรู ขุมขนสร้างความทรมาน และก่อให้เกิดความรําคาญตลอดเวลา ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคลดลงและก่อให้โรคอื่น ตามมาได้ทุกโรคการเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดูสภาพของ โรงเรือนและจํานวนอุปกรณ์ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ํากว่ามาตรฐานได้
 
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโรงเรือนระบบปิด ในโรงเรือนระปิดมีการใช้กระแสไฟฟ้า และทรัพยากรน้ําในปริมาณที่มาก จึงจําเป็นต้องมีระบบ สํารองกระแสไฟฟ้าและแหล่งน้ําสํารอง สําหรับใช้ในการผลิตของฟาร์ม โดยต้องเป็นน้ําที่ผ่านการฆ่าเชื้อ แล้ว และควรมีระบบเตือนภัยเมื่อกระแสไฟฟ้าดับ หรือเมื่อปริมาณน้ําไม่เพียงพอ และต้องมีเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงานตลอดเวลา เพื่อการแก้ไขที่ทันท่วงที หากเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการผลิตของ ฟาร์ม (สมพงษ์, 2546) การเลี้ยงสัตว์ด้วยโรงเรือนระบบปิค (Evaporative cooling System) แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ําสําหรับสัตว์ทําให้สัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดให้ผลผลิตมากกว่าสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบ เปิดสามารถเลี้ยงสัตว์ได้มากกว่า ลดปริมาณการกินอาหาร ลดจํานวนวันในการเลี้ยง และเพิ่มน้ําหนักได้ มากกว่าในสุกรขุน เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิภายในโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ํา มีค่าค่อนข้างคงที่และมีความแปรปรวนของระดับอุณหภูมิและความชื้นในแต่ละวันที่น้อยกว่าใน โรงเรือนระบบเปิด สําหรับโรงเรือนระบบปิดสามารถใช้ได้กับสัตว์ทุกชนิด โดยเฉพาะในไก่เนื้อ ไก่ไข่ และ สุกรระยะต่างๆ
 

#เครื่องควบคุมอุณภูมิ 

ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล
นายจารุวฒั น์ ดอนหนู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมคิด ชัยเพชร อาจารย์ทปี่ รึกษา
สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 
 
 
 
 

โรงเรือนระบบปิด กับ การเพิ่มสมรรถภาพ การผลิตสัตว์

( Evaporation Cooling System with The Addition Capacity of Animal Product )
   
โรงเรือนระบบปิด แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ํา(Evaporative cooling System; EVAP system) มีเป้าหมายเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนโดยการเพิ่มความชื้น โดยมีการพ่นน้ําผ่านทางแผ่นรังผึ้ง (Cooling pads) ซึ่งอยู่ทางด้านหนึ่งของโรงเรือน อากาศร้อนจากภายนอกถูกคูคผ่านทางแผ่นรังผึ้ง โดยพัดลม ซึ่งอยู่ทางด้านตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอีกด้านหนึ่งของโรงเรือน จะทําให้อุณหภูมิลดลงต่ํากว่าอุณหภูม ภายนอกโรงเรือนประมาณ 7 องศาเซลเซียส และเป็นการเพิ่มความชื้นในอากาศด้วย ในปัจจุบันฟาร์มมีการ ใช้โรงเรือนระบบปิดกับสัตว์ทุกชนิด
 
ตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงระยะเริ่มต้นตลอดจนสัตว์ให้ผลผลิต ซึ่ง การใช้ โรงเรือนระบบปิค นี้ ให้ผลผลิตแตกต่างกับโรงเรือนระบบเปิดอย่างเห็นได้ชัด เช่น ในการเลี้ยงไก่ใน โรงเรือนระบบปิด
 
จะใช้ 12-14 ตัว/ตารางเมตร แต่โรงเรือนระบบเปิดใช้ได้เพียง 7-8 ตัว/ตารางเมตร ส่วน อาหารที่กินต่อตัวกินน้อยกว่า คือ โรงเรือนระบบปิดเท่ากับ 3.62 กิโลกรัม สําหรับโรงเรือนระบบเปิด
เท่ากับ 3.95 กิโลกรัม และจํานวนวันเลี้ยงที่น้ําหนักไก่ 2 กิโลกรัม การเลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดใช้ 40 วัน โรงเรือนระบบเปิดใช้ 47 วัน ใน 1 ปีสามารถเลี้ยงไก่ได้ 6.63 รอบ สําหรับในสุกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้เช่นกัน การเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดให้น้ําหนักเฉลี่ย 135.65 กิโลกรัม/ตารางเมตร มากกว่าโรงเรือนระบบปิด คือ 125.12 กิโลกรัม/ตารางเมตร โรงเรือนระบบปิดเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับเกษตรกรที่จะเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิด
 
ประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มัก สร้างโรงเรือนเป็น โรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการ
 
หมุนเวียนและระบาย อากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของ โรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยง บางชนิด เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหวเพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิ ของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้น
Temp controller
 
ประกอบกับการที่จะเพิ่มสมรรถภาพในการผลิตให้ เพิ่มขึ้นในแง่ของปริมาณ และคุณภาพ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดี โดยใช้ หลักการระบายความร้อนด้วยน้ําและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ  โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ํา ไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่น รังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน
 
ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้หลักการระเหยของน้ํา อย่างไรก็ตามการ ควบคุมและจัดการโรงเรือนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดก็เป็นสิ่งที่ทําได้ยาก ประกอบกับเกษตรกรเองยังขาด ความรู้ความเข้าใจ
จึงควรจะมีการศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อช่วยให้มีความเข้าใจ และมีการโรงเรือน ระบบปิดมากขึ้น สําหรับรายละเอียดจะนําเสนอในลําดับต่อไป
ลักษณะและโรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling System)  โรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําสําหรับการเลี้ยงสัตว์เป็นโรงเรือนเลี้ยง สัตว์แบบปิคที่ใช้ระบบการระบายอากาศร่วมกับการทําความเย็นด้วยการระเหยน้ํา เป็นการนําเอาหลักการ  
 
ระบายอากาศแบบอุโมงค์ลม (Tunnel Ventilation) การทําความเย็นด้วยวิธีระเหยน้ํา อุณหภูมิที่เกิดจาก ความเร็วลม (Effective Cooling) และหลักวิชาการสัตวบาล (Animal Husbandry) มาใช้ร่วมกันอย่าง เหมาะสม เป็นการเปลี่ยนความร้อนให้กลายเป็นความร้อนแฝง (Latent heat) ในการเพิ่มไอน้ําเพื่อลด อุณหภูมิในอากาศจากการเพิ่มขึ้นของความชื้นสัมพัทธ์และไอน้ําในอากาศเพื่อปรับปรุงสภาวะอากาศที่ใช้ ในการเลี้ยงสัตว์ตามชนิด เพศ พันธุ์ และอายุสัตว์ ให้มีความสุขสบายมากกว่าสภาวะอากาศตามธรรมชาติ เพื่อให้สัตว์มีสุขภาพดีให้ผลผลิตสูงและมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ศิขัณฑ์, 2554)
Temp controller

หลักการทํางานของ โรงเรือนระบบปิด

มานิตย์(2536) กล่าวว่า โรงเรือนระบบปิดมีหลักการทํางานซึ่งไม่ยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากนัก ถ้าหากเข้าใจระบบการทํางานแล้วผู้เลี้ยงสัตว์ก็สามารถที่จะติดตั้ง โรงเรือนระบบปิดได้ และได้กล่าวถึง หลักการทํางานของโรงเรือน ว่า ขนาดของโรงเรือนที่มาตรฐาน คือ กว้าง12เมตร ยาว120เมตร
 
 โครงสร้าง ทั้งหมดทําด้วยเหล็กฉาก วัสดุที่นํามาใช้คลุมหลังคาโรงเรือน ทําด้วยแผ่นสังกะสีฉาบด้วยกาลวาไนส์ ภายใต้ หลังคามุงด้วยฉนวนใยแก้วกันความร้อน ด้านใต้ไยแก้วบุด้วยแผ่นพลาสติกไวนิล เพื่อป้องกันการแผ่รังสี ความร้อนจากหลังคา ถัดลงมาจากแผ่นกันความร้อน จะมีแผ่นชิงลมติดเป็นระยะทุกๆ 12เมตร เพื่อดักลม ด้านบน ให้พัดลมพัดผ่านอย่างสม่ําเสมอ ศิขัณฑ์(2554) กล่าวว่าผนังโรงเรือนด้านหน้าและท้ายโรงเรือนปิดทึบ ส่วนผนังด้านข้างทั้งสองก่อ ด้วยอิฐ สูงประมาณ 60 เซนติเมตร เปิดช่องลมและปิดด้วยผ้าม่านพลาสติกขนาด 1.20 เมตร และมีตาข่าย อย่างที่ล้อมรอบผนังด้านข้าง เปิดประตูหน้า-หลัง และด้านกลางของโรงเรือนด้วย นอกจากนั้น ประเสริฐ (2546) กล่าวถึงแผ่นรังผึ้งเป็นส่วนสําคัญที่ปรับให้อุณหภูมิลดลง ดังภาพที่ 1 ซึ่งทําด้วย
 
กระดาษ สังเคราะห์ พิเศษ มีความทนทาน มีความหนาสองขนาดคือ ขนาดหนา 10 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ความสูงของ แผ่นรังผึ้ง 180 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 15 เมตร และ 21.6 เมตร ต่อโรงเรือน การติดแผ่น รังผึ้งจะติด ด้านเดียวหรือสองค้านก็ได้
แต่การติคสองด้านนั้นการไหลเวียนของอากาศจะทั่วถึงและ สม่ําเสมอ ดีกว่าติด ค้านเดียว
 
มานิตย์(2536) พัดลมที่ใช้จะติดตั้งอยู่ในโรงเรือนด้านหลัง ตรงข้ามกับแผ่นรังผึ้ง มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 48 นิ้ว จํานวน 8 เครื่อง โดยมีตัวควบคุมอุณหภูมิอยู่ ถ้าโรงเรือนมีพัดลม10 เครื่อง จะมีตัว คุมอุณหภูมิ 1 ตัวเพราะอีก 1 ตัวนั้น สําหรับควบคุมอุณหภูมิการเปิดปิดน้ําของเครื่องปั้มน้ํา โดยในสภาพที่ อุณหภูมิทั่วไป พัดลมจะเปิดทํางาน 1 เครื่อง อยู่ตลอดเวลาและพัดลมที่เหลือจะทํางานเมื่ออุณหภูมิสูงกว่าที่ เครื่องควบคุมอุณหภูมิกําหนดไว้ เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 60 F พัดลมเครื่องที่ 2 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 72 °F พัดลมเครื่องที่ 3 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 74 °F พัดลมเครื่องที่ 4 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า76 °F พัดลมเครื่องที่ 5 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 78 °F พัดลมเครื่องที่ 6 จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 80 °F พัดลมเครื่องที่ 7 จะทํางาน 
 
และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 82 °F พัดลมเครื่องที่ 8 จะทํางาน ในกรณีที่โรงเรือนมีพัดลม 10 เครื่อง จะตั้งตัวควบคุมพัดลมที่อุณหภูมิช่วงระหว่าง 60 °F – 72 °F อีก 2 เครื่อง เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลงไป ระบบอัตโนมัติที่ติดตั้งไว้จะทํางานเพื่อปรับสภาพอากาศและอุณหภูมิในโรงเรือนให้คงที่ตลอดเวลา และจะมีการหมุนเวียนอากาศ ดังภาพที่ 2 และความชื้นใช้ เครื่อง Hygrometer และ Thermometer ควรมีความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือนระบบปิดต้องมีประมาณร้อยละ 70-80 เท่านั้น และ Watt (1963) ได้แนะนําขนาดของปั้มน้ําสําหรับโรงเรือนระบบปิด ต้องสามารถจ่ายน้ําได้ 7.5เท่าของปริมาณน้ําที่ระเหย ดังนั้นการควบสภาวะอากาศในโรงเรือนจึงต้องทําให้พัดลมและปั้มน้ํา ทํางานสัมพันธกันอย่างดี เพื่อการควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ หรือทําให้ สัตว์เกิดความเครียดน้อยสุด
 
 
 

สมรรถภาพการให้ผลผลิตของสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิด

ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า การทําความเย็นด้วยระบบ Evaporative cooling สําหรับโรงเรือนเลี้ยง สัตว์ระบบปิคนั้นมีข้อดีหลายประการ แสดงเปรียบเทียบคุณประโยชน์ของการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนปิดและ
โรงเรือนเปิดแบบมาตรฐาน โดยการเปรียบเทียบคุณประโยชน์การเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรือนระบบปิด โดยจะมี ความจุของการเลี้ยงที่แตกต่างกัน โดยโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตราความจะมากกว่า 5 ตัว/ตร.ม อุณหภูมิของ โรงเรือนระบบปิดจะมีอุณหภูมิที่ต่ํากว่าประมาณ 7 ซ อาหารที่กิน/ตัว เมื่อน้ําหนักไก่ 2 กก. ไก่ที่เลี้ยง
 
Temp controller
 
โรงเรือนระบบปิดจะกินอาหารน้อยกว่าประมาณ 0.30 กก. ค่ายารักษาโรคโรงเรือนระบบปิดจะใช้น้อยกว่า ประมาณ 0.40 บาท เปอร์เซ็นต์ไก่ตายของโรงเรือนระบบปิคจะน้อยกว่าประมาณร้อยละ 2 จํานวนวันเลี้ยง ไก่เมื่อน้ําหนักถึง 2 กก. โรงเรือนระบบปิคจะใช้เวลาน้อยกว่าประมาณ 7 วัน และรอบการผลิตปี ของ โรงเรือนระบบปิดจะผลิตไก่ในจํานวนรอบปี มากกว่าประมาณ 0.75 รอบปี ดังที่แสดงในตารางที่ 1
 
 
นอกจากนั้น ศรีสุวรรณ (2543) กล่าวว่า ปัจจุบันฟาร์มสุกรบางส่วนได้เริ่มๆมีการใช้โรงเรือนระบบ ปิดสุกรขุนเป็นส่วนใหญ่และยังใช้กับสุกรแม่พันธุ์ในทุกช่วงของการผลิตคือตั้งแต่ขั้นตอนของการเลี้ยงสุกร
สาวแม่สุกรอุ้มท้องตลอดจนแม่สุกรคลอดและลูกสุกรหย่านมซึ่งการใช้โรงเรือนระบบปิคนี้คาดว่ามี ผลกระทบต่อสมรรถภาพทางระบบสืบพันธุ์ของแม่สุกรร่วมกับปัจจัยอื่นซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสําหรับ เกษตรกรที่จะเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์ในโรงเรือนระบบปิด และการเลี้ยงสุกรขุนในโรงเรือนระบบปิดจะมีอัตรา การผลิตที่ดีกว่า ดังตารงที่ 2
 
 
จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ที่เป็นคัชนีที่แสดงถึงประสิทธิภาพทางเทคนิคของอุตสาหกรรมการ ผลิตสุกรขุนในโรงเรือนระบบเปิด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยมากกว่าโรงเรือนระบบปิดที่แตกต่างกันเท่ากับ 6.18 ซึ่ง
แสดงว่าดัชนีการผลิตสุกรขุนของโรงเรือนระบบปิดดีกว่า ค่าเฉลี่ยน้ําหนักสุกรที่เลี้ยงเป็นกิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ยมากกว่า เท่ากับ 60.53 ซึ่งแสดงว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถเลี้ยงสุกรได้คิด เป็นน้ําหนักต่อพื้นที่การเลี้ยงได้เป็นจํานวนมากกว่า ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ 
 
การผลิตใน โรงเรือนแบบปิดมากกว่าเท่ากับ 2,523,335 แสดงว่าปริมาณการเลี้ยงสุกรขุนของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ต่ํา กว่าระดับการผลิต ที่จําทําให้ได้กําไรสูงสุดตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ ค่าเฉลี่ยต้นทุนเป็นบาทต่อ น้ําหนักสุกร 1 กิโลกรัม โรงเรือนระบบเปิดจะมีค่าเฉลี่ยต้นทุนมากกว่าเท่ากับ 1.21. บาท ต่อน้ําหนักสุกร หนึ่งกิโลกรัม และผลการคํานวณผลตอบแทนเฉลี่ยเป็นบาทต่อน้ําหนักสุกรที่ 1 กิโลกรัม ชี้ให้เห็นว่า โรงเรือนระบบปิดมีกําไรเฉลี่ยต่อน้ําหนักสุกรขุนที่ 1 กิโลกรัม มากกว่าเท่ากับ 1.17 บาท แสดงว่าเทคโนโลยี 
 
Temp controller
 
ของโรงเรือนระบบปิดให้ผลตอบแทนกําไรต่อน้ําหนักเป็นกิโลกรัมมากกว่าโรงเรือนระบบเปิด (ศรีสุวรรณ ,2543) อรรณพ (2551) ได้กล่าวถึงโรงเรือนระบบปิดที่มีผลต่อแม่สุกร กล่าวว่า โดยทั่วไปแล้วแม่สุกรท้อง แรกจะอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและความชื้นมากกว่าแม่สุกรที่ให้ลูกมาแล้วหลายท้อง นอกจากนี้ยังพบว่าผลร่วมของความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความชื้นต่อลักษณะทางระบบสืบพันธุ์ ของแม่สุกร 
 
โดยส่วนมากไม่พบว่ามีนัยสําคัญทางสถิติหรือมีนัยสําคัญทางสถิติในระดับต่ําจะเห็นว่า จํานวน ลูกเกิดทั้งหมดต่อครอก (Total born, TB) จํานวนลูกเกิดมีชีวิตต่อครอก(Born alive, BA) และจํานวนลูกตาย แรกคลอด (Still born, SB) ของโรงเรือนระบบปิดมีค่ามากกว่าโรงเรือนระบบเปิดและในบางกรณีพบว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากลักษณะร่วมกันของอุณหภูมิและความชื้น (combine effect)  
 
ที่แสดงออกนั้นมี ลักษณะที่ไม่มีความคงที่คือมีทั้งในด้านที่เพิ่มขึ้นหรือในด้านที่ลดลง ดังแสดงใน ภาพที่ 3 จะเห็นได้ว่าไม่ใช่แต่เพียงการเพิ่มอุณหภูมิเพียงอย่างเดียวการเพิ่มความชื้นในสิ่งแวดล้อมก็ส่งผลใน ด้านลบที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตของแม่สุกรจากลักษณะข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นที่ได้จาก การศึกษาสามารถบอกได้ว่าโรงเรือนระบบปิดสามารถที่จะลดระดับของอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้ต่ํากว่า ภายนอกได้ค่อนข้างดีและพบว่ามีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิในระดับที่ใกล้เคียงกันกับการศึกษา
ในโรงเรือนพ่อ พันธุ์ (Suriyasomboon และคณะ,2004)
 
ซึ่งจากการศึกษาของ Suriyasomboon และคณะ (2006) พบว่าฟาร์มที่มีการเลี้ยงพ่อพันธุ์ ใน โรงเรือนระบบปิดแล้วมีการนําน้ําเชื้อไปผสมกับแม่สุกรที่เลี้ยงอยู่ในโรงเรือนเปิดจะได้ขนาดครอกของลูก
สุกรที่มากกว่าฟาร์มที่ใช้น้ําเชื้อจากพ่อพันธุ์สุกรที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด และในการศึกษาของ อรรณพ (2551) พบว่าผลร่วมของฤดูกาลและโรงเรือนสําหรับแม่สุกรมีนัยสําคัญทางสถิติจํานวนลูกเกิดทั้งหมคต่อ ครอก (Total born, TB)ในโรงเรือนปิดมีขนาดครอกที่ใหญ่กว่าโรงเรือนเปิดตลอดทุกช่วงเวลาของปีซึ่ง 
 
Temp controller
 
สามารถบอกได้ถึงความแตกต่างในเรื่องของระดับความเครียดเนื่องมาจากอุณหภูมิและความชื้นที่แม่สุกร ได้รับเนื่องจากอัตราส่วนของการมีช่วงอุณหภูมิและความชื้นในแบบเย็นสบาย (Thermal comfort Zone) สําหรับแม่สุกรในโรงเรือนปิคมีมากกว่าในโรงเรือนระบบเปิดซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Tompkins และคณะ (1967) และ Omtvedt และคณะ (1971) 
 
ที่แม่สุกรอยู่ในช่วงอากาศแบบเย็นสบายจะมีจํานวนลูก สุกรแรกเกิดมีชีวิตที่มากกว่าแม่สุกรที่ได้รับความเครียดเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น ข้อดีของโรงเรือนระบบปิด ในการเลี้ยงสุกรโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการระเหยน้ําอากาศในโรงเรือนระบบ ปิดจะไม่มีความแตกต่างกันมากนักระหว่างกลางวันและกลางคืนทําให้สัตว์มีความเครียดลดลง โดยไม่ต้อง ผจญกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศอย่างรวดเร็วเป็นการลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและลด อัตราการตายซึ่งอุณหภูมิที่สูงจะก่อให้เกิดความเครียดจะเชื่อมโยงกับความสามารถในการสืบพันธุ์ของแม่ สุกรในบางฤดูกาล โดยในประเทศไทยมีอุณหภูมิมากกว่า 30 องศาเซลเซียสในบางเดือนของปี
 
(Tantasuparuk, 2000) นอกจากนั้น แผ่นกระดาษที่เปียกชื้นจะช่วยจับฝุ่นผง ลดการแพร่ของเชื้อโรคที่ติดมา กับฝุ่นผงได้ และเชื้อโรคจะไม่สามารถติดไปตามการระเหยของน้ํา (ศิขัณฑ์, 2554)
การหมุนเวียนอากาศ ภายในโรงเรือนสม่ําเสมอมากอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบาย เอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้นๆเท่านั้นเป็นการลดปัญหาระคับแอมโมเนียในโรงเรือนได้
 

Temp controller

ข้อเสียและข้อพึงระวังของ โรงเรือนระบบปิด

การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง การไม่เข้าใจในระบบและการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องจะนําไปสู่ความ เสียหายที่มากกว่าการเลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด เช่น อากาศที่แห้งในฤดูหนาวจะทําให้เศษอุจจาระที่ติดกับ พื้นคอก
เศษอาหารที่สัตว์กินหกและเหยียบย่ําจนแตกละเอียดเป็นผง เมื่อถูกพัดลมดูดให้อากาศเคลื่อนที่ใน โรงเรือนปิค จะมีละอองจากอุจจาระและอาหารปลิวไปทั่วโรงเรือนในปริมาณมาก 
 
มีผลโดยตรงต่อระบบ ทางเดินหายใจของสัตว์ รวมทั้งระดับความชื้นภายในโรงเรือนค่อนข้างสูง อาจส่งผลให้เชื้อราเจริญเติบโต ได้ดีและส่งผลให้เกิดโรคไรขี้เรื้อนในโรงเรือนระบบปิด (ศิขัณฑ์, 2554)
สมโภชน์ (2555) กล่าวว่า ความเครียดที่สะสมจากพยาธิภายนอกที่ดูดเลือด กัดกินและชอนไชในรู ขุมขนสร้างความทรมาน และก่อให้เกิดความรําคาญตลอดเวลา
 

Temp controller

 ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคลดลงและก่อให้โรคอื่น ตามมาได้ทุกโรคการเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดูสภาพของ โรงเรือนและจํานวนอุปกรณ์ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ํากว่ามาตรฐานได้
 
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโรงเรือนระบบปิด ในโรงเรือนระปิดมีการใช้กระแสไฟฟ้า และทรัพยากรน้ําในปริมาณที่มาก จึงจําเป็นต้องมีระบบ สํารองกระแสไฟฟ้าและแหล่งน้ําสํารอง สําหรับใช้ในการผลิตของฟาร์ม โดยต้องเป็นน้ําที่ผ่านการฆ่าเชื้อ แล้ว และควรมีระบบเตือนภัยเมื่อกระแสไฟฟ้าดับ หรือเมื่อปริมาณน้ําไม่เพียงพอ และต้องมีเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงานตลอดเวลา เพื่อการแก้ไขที่ทันท่วงที หากเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการผลิตของ ฟาร์ม (สมพงษ์, 2546) การเลี้ยงสัตว์ด้วยโรงเรือนระบบปิค (Evaporative cooling System)
 
 แบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ําสําหรับสัตว์ทําให้สัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิดให้ผลผลิตมากกว่าสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบ เปิดสามารถเลี้ยงสัตว์ได้มากกว่า ลดปริมาณการกินอาหาร ลดจํานวนวันในการเลี้ยง และเพิ่มน้ําหนักได้ มากกว่าในสุกรขุน เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิภายในโรงเรือนระบบปิดแบบควบคุมอุณหภูมิด้วยการ ระเหยน้ํา มีค่าค่อนข้างคงที่และมีความแปรปรวนของระดับอุณหภูมิและความชื้นในแต่ละวันที่น้อยกว่าใน โรงเรือนระบบเปิด สําหรับโรงเรือนระบบปิดสามารถใช้ได้กับสัตว์ทุกชนิด โดยเฉพาะในไก่เนื้อ ไก่ไข่ และ สุกรระยะต่างๆ
 

#เครื่องควบคุมอุณภูมิ 

ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล
นายจารุวฒั น์ ดอนหนู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมคิด ชัยเพชร อาจารย์ทปี่ รึกษา
สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 
 
 
 
 
อิสระที่คุณควบคุมได้
ทำลายทุกข้อจำกัด ฉีกทุกการเลี้ยงแบบเดิมๆ เราขอเสนอ
Temp Chickatron 20 Climate Controller 
✅อิสระในการเลือก 16 Output ของคุณได้ตามลักษณะการใช้งาน
✅อิสระในการบริหารจัดการ สามารถดูข้อมูลสรุปการเลี้ยงและการตั้งค่าของเครื่องได้
✅อิสระในการเลือกวันที่จะให้หรือไม่ให้อาหารได้
✅อิสระในการตั้งค่าโปรแกรมการเลี้ยงได้ตามใจผู้ใช้
✅จอแสดงผลสี หน้าจอสัมผัสขนาด 7 นิ้ว

 

Freedom that you can Control

 

Beat every limitation with our brand new climate controller: 
Temp Chickatron20.
 
✅Free to choose desired 16 Outputs according to the user’s application.
✅Free to set the feeding program according to the user’s application.
✅Free to select feeding day and fasting day.
✅Free to review and edit the feeding programs and settings.
✅With color display touchscreen 7 inches.
เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
Click the link below for more information
 
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller #poultry #farm #smartfarm #temperaturecontroller #chickenfarm #climate #humiditycontroller #controller #carbondioxide #ammonia #sensors #automaticcontroller #chicken #pig #ฟาร์ม #ฟาร์มไก่ #สมาร์ทฟาร์ม #เลี้ยงไก่ #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ #คอนโทรลเลอร์ #เซนเซอร์อุณหภูมิ #เซนเซอร์ความชื้น
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!