Menu Close

โรคกระดูกหัก ในไก่ ไข่ และ ไก่พันธุ์เนื้อ

โรคกระดูกอกหัก ในไก่ไข่ และไก่พันธุ์เนื้อ

โรคกระดูกอกหัก ในไก่ ไข่ และ พันธุ์ไก่เนื้อ

    โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)

ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็น
ที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน

 

โรคกระดูกอกหัก ในโก่ไข่

      โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ 

Temp controller

การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้
ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH) 

 

และ ฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่า ไก่ เพศผู้ไม่พบ โรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่ ความผิดปรกติของกระดูกอก สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไปขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน

 

โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์

     แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูก ไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ 

 

เนื่องจาก ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้วทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙

 

โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕ 

บทสรุป

      โรคกระดูกอกหัก เป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้ 

 

เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง

 
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
.
 
 
 
โรคกระดูกอกหัก ในไก่ไข่ และพันธุ์ไก่เนื้อ
    โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)
ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็น
ที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน
 
โรคกระดูกอกหักในโก่ไข่
      โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็
เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ 
 
การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้
ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH) 
 

Temp controller

และฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าไก่เพศผู้ไม่พบโรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่ ความผิดปรกติของกระดูกอก สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไปขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน
 
โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์
     ชโกโมโดโกรกกะลnnel แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูกไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ 
 
เนื่องจาก ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้วทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙
โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕ 
 
บทสรุป
      โรคกระดูกอกหักเป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้ เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง
 
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
.
 
 
 
โรคกระดูกอกหัก ในไก่ไข่ และพันธุ์ไก่เนื้อ
    โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)
ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็น
ที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน
 
โรคกระดูกอกหักในโก่ไข่
      โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็
เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ 
 
การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้
ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH) 
 

Temp controller

และฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าไก่เพศผู้ไม่พบโรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่ ความผิดปรกติของกระดูกอก สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไปขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน
 
โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์
     ชโกโมโดโกรกกะลnnel แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูกไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ 
 
เนื่องจาก ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้วทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙
โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕ 
 
บทสรุป
      โรคกระดูกอกหักเป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้ เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง
 
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
.
 
 
Temp controller
⚡อิสระที่คุณควบคุมได้⚡
💥ทำลายทุกข้อจำกัด ฉีกทุกการเลี้ยงแบบเดิมๆ เราขอเสนอ
✨ Temp Chickatron 20 Climate Controller ✨
✅อิสระในการเลือก 16 Output ของคุณได้ตามลักษณะการใช้งาน
✅อิสระในการบริหารจัดการ สามารถดูข้อมูลสรุปการเลี้ยงและการตั้งค่าของเครื่องได้
✅อิสระในการเลือกวันที่จะให้หรือไม่ให้อาหารได้
✅อิสระในการตั้งค่าโปรแกรมการเลี้ยงได้ตามใจผู้ใช้
✅จอแสดงผลสี หน้าจอสัมผัสขนาด 7 นิ้ว
⚡Freedom that you can Control⚡
💥Beat every limitation with our brand new climate controller: ✨Temp Chickatron20.✨
✅Free to choose desired 16 Outputs according to the user’s application.
✅Free to set the feeding program according to the user’s application.
✅Free to select feeding day and fasting day.
✅Free to review and edit the feeding programs and settings.
✅With color display touchscreen 7 inches.
📣เข้าชมสินค้าของเราเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
👇👇👇Click the link below for more information👇👇👇
 
https://tempclimatecontroller.com/
 
#climatecontroller #poultry #farm #smartfarm #temperaturecontroller #chickenfarm #climate #humiditycontroller #controller #carbondioxide #ammonia #sensors #automaticcontroller #chicken #pig #ฟาร์ม #ฟาร์มไก่ #สมาร์ทฟาร์ม #เลี้ยงไก่ #ไก่ไข่ #ไก่เนื้อ #คอนโทรลเลอร์ #เซนเซอร์อุณหภูมิ #เซนเซอร์ความชื้น
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!