Menu Close

ระบบ ทำความร้อน ผลิตภัณฑ์ สำหรับฟาร์มไก่

ทำความร้อน

ทำความร้อน ในโรงเรือน

ปรับสภาพอากาศในโรงเรือนเลี้ยงไก่ ให้ความร้อน ต่อเนื่อง ทำความร้อน อยู่ในช่วงที่ทำให้มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสำหรับการลี้ยงไก่

ลักษณะของระบบปรับสภาพอากาศในโรงเรือน ได้แก่

  • การกกไก่ในช่วงเริ่มต้นการเลี้ยงตั้งแต่ลูกไก่อายุ 1 วันแรกเป็นช่วงวิกฤติที่สำคัญ การกกลูกไก่ด้วยเครื่องกกแก๊ส หรือใช้เครื่องทำความร้อน จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นมาก
  • พัดลมดูดอากาศจากภายนอกเข้ามาในโรงเรือน และถูกนำไปขับความร้อนส่วนเกิน รวมทั้งการระบายก๊าซแอมโมเนีย คาร์บอนได้ออกไซด์ ฝุ่นละอองและสิ่งแปลกปลอมต่างๆออกจากโรงเรือน โดยภายในถูกแทนที่ด้วยอากาศบริสุทธิ์
  • ระบบทำความเย็นแบบ Evaporative cooling ทำหน้าที่ลดอุณหภูมิในโรงเรือนที่สูงเกินไปให้เย็นลง ไก่ที่เลี้ยงมีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย ไม่เครียดและเจริญเติบโตได้ดีตลอดวงรอบของการเลี้ยงไก่
  • โปรแกรมแสงสว่างภายในโรงเรือน เป็นสิ่งที่ความสำคัญมาก ผ้าม่านทางด้านข้างโรงเรือนช่วยในการปรับแสงแดดที่ส่องเข้าไปในโรงเรือน แสงสว่างยังมีความสำคัญมากต่อการเจริญเติบโตของไก่ในทุกช่วงของการเลี้ยง ทั้งในตอนกลางวันและในตอนกลางคืน

The features of air conditioning in the poultry house are;

  • Chick brooding at the beginning from day old is critical period. Brooding chicks with gas brooder or heater is essential too.
  • Air ventilation by exhaust fans for air exchange from outside into inside the house. Consequently remove excessive temperature, ammonia, carbon dioxide dust and other impurities out of the house and replace with fresh air outside.
  • Evaporative cooling system is the procedure to cool down excessive temperature in the poultry house, thus encourage chickens’ well being, preventing heat stress and allows significantly rapid growth throughout the production cycle.
  • Lightening programs in the poultry are also very important. The common physical program is curtains at sidewall of the house to adjust lighting from sunshine. The lightening programs in the house, however, are very important too. Since it influents poultry growth in every period of each cycle both daytime and night time.
เราเป็นผู้ผลิตรสินค้าสำหรับการควบคุมปรับสภาพอากาศภายในโรงเรือนที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพสูง 
ดูข้อมูลสินค้าของเพิ่มเติม :: ผลิตภัณฑ์

www.heater.siamwaterflame.com

โอกาสของธุรกิจอุปกรณ์ฟาร์มยังมีอยู่ สำหรับท่านที่ทำฟาร์มหากนำอุปกรณ์ที่มีคุณภาพที่เหมาะสมมาใช้พร้อมกับการบริการที่ดี และสุดท้ายคือความจริงใจที่เรามีให้กับลูกค้าทุกคนและเข้าใจความต้องการ เล็งเห็นถึงปัญหาของลูกค้า  เราจึงพร้อมที่จะดูแล พัฒนาและเติบโตไปพร้อมๆกับลูกค้าทุกคน 
#เครื่องทำความร้อนในฟาร์ม #ทำความร้อน #ฟาร์มไก่ #heater #masterheater

[ สาระน่ารู้ เพิ่มเติม เรื่อง ฟาร์ม ]

โรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling system)

 
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มักสร้างโรงเรือนเป็นโรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการหมุนเวียนและระบายอากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของโรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยงบางชนิด
 
 เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหว เพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้นโดยใช้หลักการระบายความร้อนด้วยน้ำและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ำไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่นรังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้หลักการระเหยของน้ำ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดีโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนก
 
ทั้งโรงเรือนเปิดและโรงเรือนระบบปิดก็มีข้อดีข้อเสียต่างกันออกไป ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องตัดสินใจว่าควรจะเลือกใช้โรงเรือนระบบใด แต่ในภาพรวมๆ แล้วโรงเรือนระบบปิดจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องอากาศร้อน และป้องกันโรคได้ดีกว่าโรงเรือนเปิด โดยข้อดีและข้อควรพิจารณาของโรงเรือนระบบปิด มีดังนี้
 

ข้อดี

 
ลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและทำให้ไก่สุขภาพดีขึ้น
ในพ่อ – แม่พันธุ์ไก่กระทงจะให้ผลผลิตสูงขึ้น
ลดอัตราการตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอากาศร้อนจัด

ใช้พัดลมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโรงเรียนแบบเปิด และเป็นการประหยัด ค่ากระแสไฟฟ้า
สามารถใช้ร่วมกับระบบทึบแสง (dark – out) เพื่อเลี้ยงไก่พ่อ – แม่พันธุ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าโรงเรือนแบบเปิด
การหมุนเวียนอากาศภายในโรงเรือนสม่ำเสมอมาก อากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบายเอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้น ๆ เท่านั้น เป็นการลดปัญหาระดับแอมโมเนียในโรงเรือนได้
อัตราการเจริญเติบโตดีกว่าและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีในไก่กระทง

ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ

สามารถเลี้ยงไก่ได้มากขึ้นกว่าโรงเรือนแบบเปิด เมื่อเทียบกับพื้นที่เท่ากัน
สามารถควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศและแสงสว่างในโรงเรือนได้
ข้อควรพิจารณา
 
การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง (ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการดูแลของแต่ละฟาร์ม)
นื่องจากระบบควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายชนิด เช่น ชนิดและขนาดของแผ่นให้ความเย็น ระดับความชื้นภายนอกและภายในโรงเรือน พื้นที่และความหนาแน่นของการเลี้ยง จำนวนพัดลมและการวางผังตำแหน่งของพัดลม เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนอากาศในระดับความเร็วลมที่เหมาะสมและทั่วถึงทั้งโรงเรือน ต้องศึกษาความรู้ และความเข้าใจในระบบ การปฏิบัติ และมีวิธีการจัดการที่ถูกต้อง

การเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดู สภาพของโรงเรือนและจำนวนอุปกรณ์ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ำกว่า มาตรฐานได้
 
การพิจารณาถึงขนาดของโรงเรือนในระบบปิดของฟาร์มนั้นต้องคำนึงถึงความสามารถในการจัดการแบบเข้าหมดออกหมด (all-in all-out) ของฟาร์มได้ โรงเรือนที่มีขนาดใหญ่เกินไปไม่สามารถที่จะย้ายสัตว์ออกได้หมดภายในระยะเวลาหนึ่ง และทำให้ต้องมีการนำสัตว์ รุ่นต่อมาทยอยเข้าไปในโรงเรือน ในขณะที่สัตว์ชุดก่อนยังมีการเลี้ยงอยู่ในโรงเรือนที่จะส่งผลต่อสุขภาพของสัตว์ในรุ่นใหม่อย่างแน่นอน

โรงเรือนในระบบปิดถูกออกแบบให้ช่วยในการเพิ่มผลผลิตของสัตว์ ส่วนการป้องกันโรคหรือการติดเชื้อของสัตว์ควรเน้นที่การป้องกันฟาร์มในระบบปิดมากกว่า
 
ขอบคุณที่มาข้อมูล :: www.kpi-shop.com
ปรับสภาพอากาศในโรงเรือนเลี้ยงไก่ ให้ความร้อน ต่อเนื่อง ทำความร้อน อยู่ในช่วงที่ทำให้มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสำหรับการลี้ยงไก่
ลักษณะของระบบปรับสภาพอากาศในโรงเรือน ได้แก่
  • การกกไก่ในช่วงเริ่มต้นการเลี้ยงตั้งแต่ลูกไก่อายุ 1 วันแรกเป็นช่วงวิกฤติที่สำคัญ การกกลูกไก่ด้วยเครื่องกกแก๊ส หรือใช้เครื่องทำความร้อน จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นมาก
  • พัดลมดูดอากาศจากภายนอกเข้ามาในโรงเรือน และถูกนำไปขับความร้อนส่วนเกิน รวมทั้งการระบายก๊าซแอมโมเนีย คาร์บอนได้ออกไซด์ ฝุ่นละอองและสิ่งแปลกปลอมต่างๆออกจากโรงเรือน โดยภายในถูกแทนที่ด้วยอากาศบริสุทธิ์
  • ระบบทำความเย็นแบบ Evaporative cooling ทำหน้าที่ลดอุณหภูมิในโรงเรือนที่สูงเกินไปให้เย็นลง ไก่ที่เลี้ยงมีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย ไม่เครียดและเจริญเติบโตได้ดีตลอดวงรอบของการเลี้ยงไก่
  • โปรแกรมแสงสว่างภายในโรงเรือน เป็นสิ่งที่ความสำคัญมาก ผ้าม่านทางด้านข้างโรงเรือนช่วยในการปรับแสงแดดที่ส่องเข้าไปในโรงเรือน แสงสว่างยังมีความสำคัญมากต่อการเจริญเติบโตของไก่ในทุกช่วงของการเลี้ยง ทั้งในตอนกลางวันและในตอนกลางคืน
The features of air conditioning in the poultry house are;
  • Chick brooding at the beginning from day old is critical period. Brooding chicks with gas brooder or heater is essential too.
  • Air ventilation by exhaust fans for air exchange from outside into inside the house. Consequently remove excessive temperature, ammonia, carbon dioxide dust and other impurities out of the house and replace with fresh air outside.
  • Evaporative cooling system is the procedure to cool down excessive temperature in the poultry house, thus encourage chickens’ well being, preventing heat stress and allows significantly rapid growth throughout the production cycle.
  • Lightening programs in the poultry are also very important. The common physical program is curtains at sidewall of the house to adjust lighting from sunshine. The lightening programs in the house, however, are very important too. Since it influents poultry growth in every period of each cycle both daytime and night time.
เราเป็นผู้ผลิตรสินค้าสำหรับการควบคุมปรับสภาพอากาศภายในโรงเรือนที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพสูง 
ดูข้อมูลสินค้าของเพิ่มเติม :: ผลิตภัณฑ์
www.heater.siamwaterflame.com
โอกาสของธุรกิจอุปกรณ์ฟาร์มยังมีอยู่ สำหรับท่านที่ทำฟาร์มหากนำอุปกรณ์ที่มีคุณภาพที่เหมาะสมมาใช้พร้อมกับการบริการที่ดี และสุดท้ายคือความจริงใจที่เรามีให้กับลูกค้าทุกคนและเข้าใจความต้องการ เล็งเห็นถึงปัญหาของลูกค้า  เราจึงพร้อมที่จะดูแล พัฒนาและเติบโตไปพร้อมๆกับลูกค้าทุกคน 
#เครื่องทำความร้อนในฟาร์ม #ทำความร้อน #ฟาร์มไก่ #heater #masterheater
[ สาระน่ารู้ เพิ่มเติม เรื่อง ฟาร์ม ]
โรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling system)
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มักสร้างโรงเรือนเป็นโรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการหมุนเวียนและระบายอากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของโรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยงบางชนิด เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหว เพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้นโดยใช้หลักการระบายความร้อนด้วยน้ำและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ำไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่นรังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้หลักการระเหยของน้ำ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดีโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนก
ทั้งโรงเรือนเปิดและโรงเรือนระบบปิดก็มีข้อดีข้อเสียต่างกันออกไป ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องตัดสินใจว่าควรจะเลือกใช้โรงเรือนระบบใด แต่ในภาพรวมๆ แล้วโรงเรือนระบบปิดจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องอากาศร้อน และป้องกันโรคได้ดีกว่าโรงเรือนเปิด โดยข้อดีและข้อควรพิจารณาของโรงเรือนระบบปิด มีดังนี้
ข้อดี
ลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและทำให้ไก่สุขภาพดีขึ้น
ในพ่อ – แม่พันธุ์ไก่กระทงจะให้ผลผลิตสูงขึ้น
ลดอัตราการตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอากาศร้อนจัด
ใช้พัดลมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโรงเรียนแบบเปิด และเป็นการประหยัด ค่ากระแสไฟฟ้า
สามารถใช้ร่วมกับระบบทึบแสง (dark – out) เพื่อเลี้ยงไก่พ่อ – แม่พันธุ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าโรงเรือนแบบเปิด
การหมุนเวียนอากาศภายในโรงเรือนสม่ำเสมอมาก อากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบายเอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้น ๆ เท่านั้น เป็นการลดปัญหาระดับแอมโมเนียในโรงเรือนได้
อัตราการเจริญเติบโตดีกว่าและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีในไก่กระทง
ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ
สามารถเลี้ยงไก่ได้มากขึ้นกว่าโรงเรือนแบบเปิด เมื่อเทียบกับพื้นที่เท่ากัน
สามารถควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศและแสงสว่างในโรงเรือนได้
ข้อควรพิจารณา
การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง (ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการดูแลของแต่ละฟาร์ม)
นื่องจากระบบควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายชนิด เช่น ชนิดและขนาดของแผ่นให้ความเย็น ระดับความชื้นภายนอกและภายในโรงเรือน พื้นที่และความหนาแน่นของการเลี้ยง จำนวนพัดลมและการวางผังตำแหน่งของพัดลม เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนอากาศในระดับความเร็วลมที่เหมาะสมและทั่วถึงทั้งโรงเรือน ต้องศึกษาความรู้ และความเข้าใจในระบบ การปฏิบัติ และมีวิธีการจัดการที่ถูกต้อง
การเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดู สภาพของโรงเรือนและจำนวนอุปกรณ์ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ำกว่า มาตรฐานได้
การพิจารณาถึงขนาดของโรงเรือนในระบบปิดของฟาร์มนั้นต้องคำนึงถึงความสามารถในการจัดการแบบเข้าหมดออกหมด (all-in all-out) ของฟาร์มได้ โรงเรือนที่มีขนาดใหญ่เกินไปไม่สามารถที่จะย้ายสัตว์ออกได้หมดภายในระยะเวลาหนึ่ง และทำให้ต้องมีการนำสัตว์ รุ่นต่อมาทยอยเข้าไปในโรงเรือน ในขณะที่สัตว์ชุดก่อนยังมีการเลี้ยงอยู่ในโรงเรือนที่จะส่งผลต่อสุขภาพของสัตว์ในรุ่นใหม่อย่างแน่นอน
โรงเรือนในระบบปิดถูกออกแบบให้ช่วยในการเพิ่มผลผลิตของสัตว์ ส่วนการป้องกันโรคหรือการติดเชื้อของสัตว์ควรเน้นที่การป้องกันฟาร์มในระบบปิดมากกว่า
ขอบคุณที่มาข้อมูล :: www.kpi-shop.com
[ สาระน่ารู้ เพิ่มเติม เรื่อง ฟาร์ม ]
โรงเรือนระบบปิด (evaporative cooling system)
 
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีอุณหภูมิของอากาศค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงสัตว์มักสร้างโรงเรือนเป็นโรงเรือนเปิด ทั้งนี้เพื่อต้องการให้อากาศภายในโรงเรือนมีการหมุนเวียนและระบายอากาศเป็นการลดความร้อนภายในโรงเรือนได้ดี โรงเรือนเปิดไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อุณหภูมิของโรงเรือนจะผันแปรไปตามสภาพของอากาศภายนอกโรงเรือน ช่วงหน้าร้อนอากาศ 
 
จะร้อนมาก สัตว์เลี้ยงบางชนิด เช่น ไก่เนื้อ อาจทนอากาศร้อนไม่ไหว เพื่อหลีกเลี่ยงจากอากาศร้อนและต้องการควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนจึงได้มีการคิดค้นโรงเรือนระบบปิดขึ้นโดยใช้หลักการระบายความร้อนด้วยน้ำและใช้พัดลมเป็นตัวถ่ายเทอากาศ โดยมีแผ่นรังผึ้ง (cooling pad) ที่ปล่อยน้ำไหลผ่านจนเปียกชุ่ม เมื่อเดินพัดลมซึ่งอยู่ในแนวตรงกันข้ามกับแผ่นรังผึ้งอากาศภายนอกจะถูกดูดผ่านแผ่นรังผึ้งเข้าภายในโรงเรือน ภายในโรงเรือนจะเย็นสบายโดยใช้
 
หลักการระเหยของน้ำ นอกจากนี้โรงเรือนระบบปิดยังสามารถป้องกันโรคได้อย่างดีโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนก
ทั้งโรงเรือนเปิดและโรงเรือนระบบปิดก็มีข้อดีข้อเสียต่างกันออกไป ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องตัดสินใจว่าควรจะเลือกใช้โรงเรือนระบบใด แต่ในภาพรวมๆ แล้วโรงเรือนระบบปิดจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องอากาศร้อน และป้องกันโรคได้ดีกว่าโรงเรือนเปิด โดยข้อดีและข้อควรพิจารณาของโรงเรือนระบบปิด มีดังนี้
 
ข้อดี
 
ลดความเครียดที่เกิดจากความร้อนและทำให้ไก่สุขภาพดีขึ้น
ในพ่อ – แม่พันธุ์ไก่กระทงจะให้ผลผลิตสูงขึ้น
ลดอัตราการตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอากาศร้อนจัด
ใช้พัดลมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโรงเรียนแบบเปิด และเป็นการประหยัด ค่ากระแสไฟฟ้า
สามารถใช้ร่วมกับระบบทึบแสง (dark – out) เพื่อเลี้ยงไก่พ่อ – แม่พันธุ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าโรงเรือนแบบเปิด
การหมุนเวียนอากาศภายในโรงเรือนสม่ำเสมอมาก อากาศบริสุทธิ์จากภายนอกจะผ่านแผ่นรังผึ้งเข้ามาภายในโรงเรือนและระบายเอาอากาศเสียออกไปภายนอกโรงเรือนโดยพัดลมใช้เวลาสั้น ๆ เท่านั้น เป็นการลดปัญหาระดับแอมโมเนียในโรงเรือนได้
อัตราการเจริญเติบโตดีกว่าและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีในไก่กระทง
ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ
สามารถเลี้ยงไก่ได้มากขึ้นกว่าโรงเรือนแบบเปิด เมื่อเทียบกับพื้นที่เท่ากัน
สามารถควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศและแสงสว่างในโรงเรือนได้
ข้อควรพิจารณา
 
การลงทุนในระยะเริ่มต้นสูง (ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการดูแลของแต่ละฟาร์ม)
นื่องจากระบบควบคุมอุณหภูมิของโรงเรือนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายชนิด เช่น ชนิดและขนาดของแผ่นให้ความเย็น ระดับความชื้นภายนอกและภายในโรงเรือน พื้นที่และความหนาแน่นของการเลี้ยง 
 
จำนวนพัดลมและการวางผังตำแหน่งของพัดลม เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนอากาศในระดับความเร็วลมที่เหมาะสมและทั่วถึงทั้งโรงเรือน ต้องศึกษาความรู้ และความเข้าใจในระบบ การปฏิบัติ และมีวิธีการจัดการที่ถูกต้อง
การเลี้ยงสัตว์ที่หนาแน่นเกินขอบเขตความสามารถในการจัดการเลี้ยงดู สภาพของโรงเรือนและจำนวนอุปกรณ์ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตที่ต่ำกว่า มาตรฐานได้
การพิจารณาถึงขนาดของโรงเรือนในระบบปิดของฟาร์มนั้นต้องคำนึงถึงความสามารถในการจัดการแบบเข้าหมดออกหมด (all-in all-out) ของฟาร์มได้ โรงเรือนที่มีขนาดใหญ่เกินไปไม่สามารถที่จะย้ายสัตว์ออกได้หมดภายในระยะเวลาหนึ่ง และทำให้ต้องมีการนำสัตว์ รุ่นต่อมาทยอยเข้าไปในโรงเรือน ในขณะที่สัตว์ชุดก่อนยังมีการเลี้ยงอยู่ในโรงเรือนที่จะส่งผลต่อสุขภาพของสัตว์ในรุ่นใหม่อย่างแน่นอน
โรงเรือนในระบบปิดถูกออกแบบให้ช่วยในการเพิ่มผลผลิตของสัตว์ ส่วนการป้องกันโรคหรือการติดเชื้อของสัตว์ควรเน้นที่การป้องกันฟาร์มในระบบปิดมากกว่า
 
ขอบคุณที่มาข้อมูล :: www.kpi-shop.com
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!