Menu Close

อาหารเป็ดไข่ ระดับโปรตีน และ พลังงานที่เหมาะสม สำคัญอย่างไร

อาหารเป็ดไข่

อาหารเป็ดไข่

ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่ม
มากขึ้นเท่านั้น

 

โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ

โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ หากผู้เลี้ยงขาดความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมชาติ ของสัตว์ปีกในช่วงให้ไข่ บํารุงไม่ดี ให้อาหารน้อย ไม่เพียงพอ ร่างกายจะเริ่มทรุดโทรม มีภาวะความเครียด ไข่ลด หยุดไข่ และผลัดขนก่อนเวลาอันควร 

temp controller

 

อายุการ ให้ผลผลิตสั้นลง เมื่อผู้เลี้ยงได้ไข่น้อย ไม่คุ้มกับค่าอาหาร เกษตรกรส่วนใหญ่จําเป็นจะต้องปลดแม่เป็ดก่อนกําหนด ทั้งๆ ที่พึ่งเลี้ยงมาได้ไม่กี่เดือน กลายเป็นต้นทุนค่า พันธุ์สัตว์สูงโดยอัตโนมัติ เพราะยังใช้งานแม่เป็ดได้ไม่ คุ้มกับที่ลงทุนซื้อมา “เปรียบได้กับเครื่องยนต์ที่ใช้งาน อย่างหนัก แต่ขาดการบําารุงรักษา ไม่เคยเปลี่ยนถ่าย น้ามันเครื่อง (กลัวเปลือง ใช้งานอย่างเดียว) อายุการ ใช้งานก็จะสั้นกว่าเครื่องยนต์ที่ได้รับการบํารุงรักษา และตรวจเช็คสภาพตามระยะทาง เป็ดไข่ก็เช่นเดียวกัน” พลังงานรวม (gross energy) ที่สัตว์ได้รับจาก การกินอาหารจะถูกนําไปใช้ เพื่อการดํารงชีพ การ เจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการให้ผลผลิต

 

(เนื้อ นม และไข่ เป็นต้น แล้วแต่ชนิดและช่วงอายุของสัตว์) 

 

หากสัตว์เลี้ยงของเราได้รับพลังงานจากอาหารมาก เกินความจําเป็น (imbalance) นอกจากต้นทุนค่า อาหารจะสูงขึ้นแล้ว พลังงานที่เหลือเมื่อร่างกายนํา ไปใช้ไม่หมด ก็จะถูกเก็บสะสมไว้ในรูปของไขมัน (เป็ดอ้วน แต่ไข่ไม่ดก = กินเปลือง) ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น

 

อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ ที่ผ่านมาพี่น้องเกษตรกรโดยเฉพาะผู้เลี้ยงรายย่อย 

 

Smart link

มักพยายามคิดสูตรอาหาร (ผสมเอง) เพื่อพยายาม ลดต้นทุนค่าอาหารให้ต่ําที่สุด แต่ยังคาดหวังให้เป็ด ไข่ตกดังเดิม โดยเชื่อว่าสามารถใช้วัตถุดิบอะไรก็ได้มา ผสมในอาหารให้เป็ดกิน แค่ให้อิ่มก็พอ เช่น วิธีการ ลดสัดส่วนอาหารสําเร็จรูปลง แล้วทดแทนด้วยการ ผสมข้าวเปลือก ร่า ปลายข้าว กากมันหมักยีสต์ กากถั่วเหลืองหมักยีสต์ เป็นต้น (การหมักด้วยวิธีดังกล่าวจะมียูเรียเป็นส่วนผสม ซึ่งจะเป็นพิษต่อสัตว์กระเพาะเดี่ยวจึงไม่แนะนํา เพราะเป็ดจะท้องเสียได้) ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มอาหารประเภทแป้งหรือ คาร์โบไฮเดรต และจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานตาม ความสามารถในการย่อยได้ (digestibility) ถ้าเสริม วัตถุดิบที่ให้พลังงานในระดับที่ไม่เหมาะสม (พลังงานสูง)

 

Smart link

เป็ดจะกินอาหารน้อยลง ซึ่งแน่นอนว่าจะได้รับโปรตีน ในอาหารลดน้อยลงตามการกินได้ (intake) ทําให้ส่ง ผลกระทบต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 1) แต่ถ้าในสูตรอาหาร มีพลังงานต่ําา โดยธรรมชาติเป็ดจะกินอาหารมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย (ยิ่งไข่ดกยิ่งกินมากขึ้น) แต่ผู้เลี้ยงส่วนใหญ่มักจะตวงอาหาร ให้กินเท่าเดิมในทุกวัน ทําให้เป็ดไข่ได้รับสารอาหาร ที่ไม่เพียงพอนั่นเอง ซึ่งตรงจุดนี้เองผู้เลี้ยงจะต้อง คอยหมั่นสังเกตและเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด หากพบว่า อาหารหมดเร็ว กินไม่อิ่ม จําเป็นจะต้องเทอาหารให้เพิ่ม

Smartlink

เพราะถ้าอาหารขาดรางเมื่อไหร่ก็จะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 2 ครับ) โดยเป็ดที่ได้อาหาร ไม่เพียงพอ ก็จะให้ผลผลิตไม่สม่ําเสมอเท่าที่ควร

ผู้เขียนจึงขอแนะนําให้ใช้อาหารสําเร็จรูป 100% เพราะอย่างน้อยสูตรอาหารทุกสูตรที่ผ่านการคํานวณ ให้มีระดับโภชนะครบถ้วนทั้งธาตุอาหารหลัก (Marconutrition) ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต) และธาตุอาหารรอง (Micro nutrition) ซึ่งประกอบด้วย วิตามิน และแร่ธาตุ อย่างสมดุล โดยเป็ดไข่แต่ละสายพันธุ์จะมีความต้องการสาร

 

อาหารที่มากน้อยไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการให้ผลผลิต
เป็ดที่ไข่ดกและฟองใหญ่จะต้องการสารอาหารต่อวัน มากกว่าเป็ดที่ไข่ไม่ตกและฟองเล็ก เป็นต้น ซึ่งนักวิจัย อาหารสัตว์ได้ทําการศึกษาความต้องการสารอาหาร

(nutrient requirement) ของเป็ดไข่ในทุกช่วงการ เจริญเติบโตและทุกช่วงการให้ไข่ เพื่อให้ได้เป็ดที่มี สุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง ให้ผลผลิตสูง ตาม ศักยภาพของสายพันธุ์ ไข่ทนยาวนาน สามารถให้ ผลผลิตไข่สะสมต่อปีมากขึ้น ช่วยยืดอายุการปลดของ แม่เป็ด มีไข่สดคุณภาพดีส่งลูกค้าทุกวัน และที่สําคัญ คือ มีต้นทุน ค่าพันธุ์สัตว์ลดลง

 

Smart link

สําหรับสายพันธุ์เป็ดไข่ที่มีโครงสร้างและขนาดตัวค่อนข้างเล็ก ก็มักจะให้ไข่ที่ฟองเล็กโดยธรรมชาติหากผู้เลี้ยงต้องการไข่ที่ฟองใหญ่ขึ้น จําเป็นจะต้องใช้อาหารสําเร็จรูปที่มีโปรตีนสูงอย่างน้อย 21% จึงจะช่วยเพิ่มขนาดและน้ําหนักของไข่ได้ แต่ราคาอาหารก็มักจะสูงเพิ่มขึ้นตามระดับเปอร์เซ็นต์ของโปรตีน

กล่าวคือต้นทุนค่าอาหารก็จะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกันในส่วนของเป็ดสายพันธุ์ที่ตัวใหญ่กว่า ก็จะให้ไข่ ที่ฟองใหญ่กว่าโดยธรรมชาติ จึงไม่จําเป็นจะต้องใช้อาหารที่มีโปรตีนสูงแต่อย่างใด กล่าวคือสามารถใช้อาหารที่มีโปรตีนแค่ 17-18% ก็เพียงพอแล้ว โดยไม่กระทบต่อการให้ไข่อสรุปก็คือ ถ้าเราอยากเลี้ยงเป็ดไข่ที่ให้ไข่ดก ไข่ทน ไข่นาน นอกจากจะต้องหาสายพันธุ์เป็ดไข่ ที่ดีแล้วอาหารที่ใช้ก็ต้องเหมาะสม ครบทุกหมู่ “โปรตีนและพลังงานเป็นพระเอก แต่วิตามินและ แร่ธาตุก็เป็นพระรองที่จําเป็นขาดไม่ได้เลย” โดยสูตรอาหารที่เข้มข้น เป็ดจะกินน้อย แต่ได้สาร อาหารมาก ครบถ้วน และเพียงพอต่อการให้ผลผลิต ซึ่งราคาจะเหมาะสมกับความเข้มข้นของสารอาหาร เป็นสําคัญ

Smart link

“ความสําเร็จที่ยิ่งใหญ่เกิดได้จากรายละเอียด เพียงเล็กน้อย” ยิ่งเลี้ยงจํานวนมากๆ ยิ่งต้องใส่ใจใน ทุกรายละเอียดสําหรับปีใหม่ไทย (สงกรานต์) ปีนี้ผู้เขียนขอ อวยพรให้ผู้อ่านทุกๆ ท่านและครอบครัว จงปลอดภัย จากโรคร้าย ปลอดภัยในทุกการเดินทาง ขอทุกท่าน จงประสบแต่ความสุข มีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีความเจริญก้าวหน้า และประสบความสําเร็จในทุกอาชีพการงาน เป็นที่รักของทุกๆ คนครับ….
สวัสดีครับ (หมอโต)

 ขอบคุณ นิตยสาร สาส์นไก่ & สุกร

อาหารเป็ดไข่

ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่ม
มากขึ้นเท่านั้น
 
โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ
โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ หากผู้เลี้ยงขาดความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมชาติ ของสัตว์ปีกในช่วงให้ไข่ บํารุงไม่ดี ให้อาหารน้อย ไม่เพียงพอ ร่างกายจะเริ่มทรุดโทรม มีภาวะความเครียด ไข่ลด หยุดไข่ และผลัดขนก่อนเวลาอันควร 

temp controller

 
อายุการ ให้ผลผลิตสั้นลง เมื่อผู้เลี้ยงได้ไข่น้อย ไม่คุ้มกับค่าอาหาร เกษตรกรส่วนใหญ่จําเป็นจะต้องปลดแม่เป็ดก่อนกําหนด ทั้งๆ ที่พึ่งเลี้ยงมาได้ไม่กี่เดือน กลายเป็นต้นทุนค่า พันธุ์สัตว์สูงโดยอัตโนมัติ เพราะยังใช้งานแม่เป็ดได้ไม่ คุ้มกับที่ลงทุนซื้อมา “เปรียบได้กับเครื่องยนต์ที่ใช้งาน อย่างหนัก แต่ขาดการบําารุงรักษา ไม่เคยเปลี่ยนถ่าย น้ามันเครื่อง (กลัวเปลือง ใช้งานอย่างเดียว) อายุการ ใช้งานก็จะสั้นกว่าเครื่องยนต์ที่ได้รับการบํารุงรักษา และตรวจเช็คสภาพตามระยะทาง เป็ดไข่ก็เช่นเดียวกัน” พลังงานรวม (gross energy) ที่สัตว์ได้รับจาก การกินอาหารจะถูกนําไปใช้ เพื่อการดํารงชีพ การ เจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการให้ผลผลิต
 
(เนื้อ นม และไข่ เป็นต้น แล้วแต่ชนิดและช่วงอายุของสัตว์) 
 
หากสัตว์เลี้ยงของเราได้รับพลังงานจากอาหารมาก เกินความจําเป็น (imbalance) นอกจากต้นทุนค่า อาหารจะสูงขึ้นแล้ว พลังงานที่เหลือเมื่อร่างกายนํา ไปใช้ไม่หมด ก็จะถูกเก็บสะสมไว้ในรูปของไขมัน (เป็ดอ้วน แต่ไข่ไม่ดก = กินเปลือง) ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น
 
อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ ที่ผ่านมาพี่น้องเกษตรกรโดยเฉพาะผู้เลี้ยงรายย่อย 
 
Smart link
มักพยายามคิดสูตรอาหาร (ผสมเอง) เพื่อพยายาม ลดต้นทุนค่าอาหารให้ต่ําที่สุด แต่ยังคาดหวังให้เป็ด ไข่ตกดังเดิม โดยเชื่อว่าสามารถใช้วัตถุดิบอะไรก็ได้มา ผสมในอาหารให้เป็ดกิน แค่ให้อิ่มก็พอ เช่น วิธีการ ลดสัดส่วนอาหารสําเร็จรูปลง แล้วทดแทนด้วยการ ผสมข้าวเปลือก ร่า ปลายข้าว กากมันหมักยีสต์ กากถั่วเหลืองหมักยีสต์ เป็นต้น (การหมักด้วยวิธีดังกล่าวจะมียูเรียเป็นส่วนผสม ซึ่งจะเป็นพิษต่อสัตว์กระเพาะเดี่ยวจึงไม่แนะนํา เพราะเป็ดจะท้องเสียได้) ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มอาหารประเภทแป้งหรือ คาร์โบไฮเดรต และจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานตาม ความสามารถในการย่อยได้ (digestibility) ถ้าเสริม วัตถุดิบที่ให้พลังงานในระดับที่ไม่เหมาะสม (พลังงานสูง)
 
Smart link
เป็ดจะกินอาหารน้อยลง ซึ่งแน่นอนว่าจะได้รับโปรตีน ในอาหารลดน้อยลงตามการกินได้ (intake) ทําให้ส่ง ผลกระทบต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 1) แต่ถ้าในสูตรอาหาร มีพลังงานต่ําา โดยธรรมชาติเป็ดจะกินอาหารมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย (ยิ่งไข่ดกยิ่งกินมากขึ้น) แต่ผู้เลี้ยงส่วนใหญ่มักจะตวงอาหาร ให้กินเท่าเดิมในทุกวัน ทําให้เป็ดไข่ได้รับสารอาหาร ที่ไม่เพียงพอนั่นเอง ซึ่งตรงจุดนี้เองผู้เลี้ยงจะต้อง คอยหมั่นสังเกตและเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด หากพบว่า อาหารหมดเร็ว กินไม่อิ่ม จําเป็นจะต้องเทอาหารให้เพิ่ม
Smartlink
เพราะถ้าอาหารขาดรางเมื่อไหร่ก็จะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 2 ครับ) โดยเป็ดที่ได้อาหาร ไม่เพียงพอ ก็จะให้ผลผลิตไม่สม่ําเสมอเท่าที่ควร
ผู้เขียนจึงขอแนะนําให้ใช้อาหารสําเร็จรูป 100% เพราะอย่างน้อยสูตรอาหารทุกสูตรที่ผ่านการคํานวณ ให้มีระดับโภชนะครบถ้วนทั้งธาตุอาหารหลัก (Marconutrition) ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต) และธาตุอาหารรอง (Micro nutrition) ซึ่งประกอบด้วย วิตามิน และแร่ธาตุ อย่างสมดุล โดยเป็ดไข่แต่ละสายพันธุ์จะมีความต้องการสาร
 
อาหารที่มากน้อยไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการให้ผลผลิต
เป็ดที่ไข่ดกและฟองใหญ่จะต้องการสารอาหารต่อวัน มากกว่าเป็ดที่ไข่ไม่ตกและฟองเล็ก เป็นต้น ซึ่งนักวิจัย อาหารสัตว์ได้ทําการศึกษาความต้องการสารอาหาร
(nutrient requirement) ของเป็ดไข่ในทุกช่วงการ เจริญเติบโตและทุกช่วงการให้ไข่ เพื่อให้ได้เป็ดที่มี สุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง ให้ผลผลิตสูง ตาม ศักยภาพของสายพันธุ์ ไข่ทนยาวนาน สามารถให้ ผลผลิตไข่สะสมต่อปีมากขึ้น ช่วยยืดอายุการปลดของ แม่เป็ด มีไข่สดคุณภาพดีส่งลูกค้าทุกวัน และที่สําคัญ คือ มีต้นทุน ค่าพันธุ์สัตว์ลดลง
 
Smart link
สําหรับสายพันธุ์เป็ดไข่ที่มีโครงสร้างและขนาดตัวค่อนข้างเล็ก ก็มักจะให้ไข่ที่ฟองเล็กโดยธรรมชาติหากผู้เลี้ยงต้องการไข่ที่ฟองใหญ่ขึ้น จําเป็นจะต้องใช้อาหารสําเร็จรูปที่มีโปรตีนสูงอย่างน้อย 21% จึงจะช่วยเพิ่มขนาดและน้ําหนักของไข่ได้ แต่ราคาอาหารก็มักจะสูงเพิ่มขึ้นตามระดับเปอร์เซ็นต์ของโปรตีน
กล่าวคือต้นทุนค่าอาหารก็จะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกันในส่วนของเป็ดสายพันธุ์ที่ตัวใหญ่กว่า ก็จะให้ไข่ ที่ฟองใหญ่กว่าโดยธรรมชาติ จึงไม่จําเป็นจะต้องใช้อาหารที่มีโปรตีนสูงแต่อย่างใด กล่าวคือสามารถใช้อาหารที่มีโปรตีนแค่ 17-18% ก็เพียงพอแล้ว โดยไม่กระทบต่อการให้ไข่อสรุปก็คือ ถ้าเราอยากเลี้ยงเป็ดไข่ที่ให้ไข่ดก ไข่ทน ไข่นาน นอกจากจะต้องหาสายพันธุ์เป็ดไข่ ที่ดีแล้วอาหารที่ใช้ก็ต้องเหมาะสม ครบทุกหมู่ “โปรตีนและพลังงานเป็นพระเอก แต่วิตามินและ แร่ธาตุก็เป็นพระรองที่จําเป็นขาดไม่ได้เลย” โดยสูตรอาหารที่เข้มข้น เป็ดจะกินน้อย แต่ได้สาร อาหารมาก ครบถ้วน และเพียงพอต่อการให้ผลผลิต ซึ่งราคาจะเหมาะสมกับความเข้มข้นของสารอาหาร เป็นสําคัญ

Smart link

“ความสําเร็จที่ยิ่งใหญ่เกิดได้จากรายละเอียด เพียงเล็กน้อย” ยิ่งเลี้ยงจํานวนมากๆ ยิ่งต้องใส่ใจใน ทุกรายละเอียดสําหรับปีใหม่ไทย (สงกรานต์) ปีนี้ผู้เขียนขอ อวยพรให้ผู้อ่านทุกๆ ท่านและครอบครัว จงปลอดภัย จากโรคร้าย ปลอดภัยในทุกการเดินทาง ขอทุกท่าน จงประสบแต่ความสุข มีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีความเจริญก้าวหน้า และประสบความสําเร็จในทุกอาชีพการงาน เป็นที่รักของทุกๆ คนครับ….
สวัสดีครับ (หมอโต)
 ขอบคุณ นิตยสาร สาส์นไก่ & สุกร
 

อาหารเป็ดไข่

ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่ม
มากขึ้นเท่านั้น
 
โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ
โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ หากผู้เลี้ยงขาดความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมชาติ ของสัตว์ปีกในช่วงให้ไข่ บํารุงไม่ดี ให้อาหารน้อย ไม่เพียงพอ ร่างกายจะเริ่มทรุดโทรม มีภาวะความเครียด ไข่ลด หยุดไข่ และผลัดขนก่อนเวลาอันควร 

temp controller

 
อายุการ ให้ผลผลิตสั้นลง เมื่อผู้เลี้ยงได้ไข่น้อย ไม่คุ้มกับค่าอาหาร เกษตรกรส่วนใหญ่จําเป็นจะต้องปลดแม่เป็ดก่อนกําหนด ทั้งๆ ที่พึ่งเลี้ยงมาได้ไม่กี่เดือน กลายเป็นต้นทุนค่า พันธุ์สัตว์สูงโดยอัตโนมัติ เพราะยังใช้งานแม่เป็ดได้ไม่ คุ้มกับที่ลงทุนซื้อมา “เปรียบได้กับเครื่องยนต์ที่ใช้งาน อย่างหนัก แต่ขาดการบําารุงรักษา ไม่เคยเปลี่ยนถ่าย น้ามันเครื่อง (กลัวเปลือง ใช้งานอย่างเดียว) อายุการ ใช้งานก็จะสั้นกว่าเครื่องยนต์ที่ได้รับการบํารุงรักษา และตรวจเช็คสภาพตามระยะทาง เป็ดไข่ก็เช่นเดียวกัน” พลังงานรวม (gross energy) ที่สัตว์ได้รับจาก การกินอาหารจะถูกนําไปใช้ เพื่อการดํารงชีพ การ เจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการให้ผลผลิต
 
(เนื้อ นม และไข่ เป็นต้น แล้วแต่ชนิดและช่วงอายุของสัตว์) 
 
หากสัตว์เลี้ยงของเราได้รับพลังงานจากอาหารมาก เกินความจําเป็น (imbalance) นอกจากต้นทุนค่า อาหารจะสูงขึ้นแล้ว พลังงานที่เหลือเมื่อร่างกายนํา ไปใช้ไม่หมด ก็จะถูกเก็บสะสมไว้ในรูปของไขมัน (เป็ดอ้วน แต่ไข่ไม่ดก = กินเปลือง) ในสภาวะที่วัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาแพงขึ้น จึงส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการประกอบสูตร อาหารสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีกที่ให้ไข่ซึ่งจําเป็น
 
อย่างยิ่งที่จะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และเพียงพอสําหรับการผลิตไข่ โดยเฉพาะสายพันธุ์ที่ให้ไข่ดก ยิ่งถูกมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะมีความต้องการสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น โดยสารอาหารที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ โปรตีนและพลังงาน ถ้าร่างกายของเป็ดไข่ได้รับอาหาร ในแต่ละวันไม่เพียงพอ โดยเฉพาะช่วงพีคหรือช่วงที่ให้ ไข่สูงสุด ร่างกายเป็ดจะมีกลไกพิเศษมาบังคับให้ดึง เอาโปรตีนจากกล้ามเนื้อ ไขมันที่สะสม และแร่ธาตุจาก กระดูกของตัวเอง มาสร้างไข่และเปลือกไข่ ที่ผ่านมาพี่น้องเกษตรกรโดยเฉพาะผู้เลี้ยงรายย่อย 
 
Smart link
มักพยายามคิดสูตรอาหาร (ผสมเอง) เพื่อพยายาม ลดต้นทุนค่าอาหารให้ต่ําที่สุด แต่ยังคาดหวังให้เป็ด ไข่ตกดังเดิม โดยเชื่อว่าสามารถใช้วัตถุดิบอะไรก็ได้มา ผสมในอาหารให้เป็ดกิน แค่ให้อิ่มก็พอ เช่น วิธีการ ลดสัดส่วนอาหารสําเร็จรูปลง แล้วทดแทนด้วยการ ผสมข้าวเปลือก ร่า ปลายข้าว กากมันหมักยีสต์ กากถั่วเหลืองหมักยีสต์ เป็นต้น (การหมักด้วยวิธีดังกล่าวจะมียูเรียเป็นส่วนผสม ซึ่งจะเป็นพิษต่อสัตว์กระเพาะเดี่ยวจึงไม่แนะนํา เพราะเป็ดจะท้องเสียได้) ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มอาหารประเภทแป้งหรือ คาร์โบไฮเดรต และจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานตาม ความสามารถในการย่อยได้ (digestibility) ถ้าเสริม วัตถุดิบที่ให้พลังงานในระดับที่ไม่เหมาะสม (พลังงานสูง)
 
Smart link
เป็ดจะกินอาหารน้อยลง ซึ่งแน่นอนว่าจะได้รับโปรตีน ในอาหารลดน้อยลงตามการกินได้ (intake) ทําให้ส่ง ผลกระทบต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 1) แต่ถ้าในสูตรอาหาร มีพลังงานต่ําา โดยธรรมชาติเป็ดจะกินอาหารมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย (ยิ่งไข่ดกยิ่งกินมากขึ้น) แต่ผู้เลี้ยงส่วนใหญ่มักจะตวงอาหาร ให้กินเท่าเดิมในทุกวัน ทําให้เป็ดไข่ได้รับสารอาหาร ที่ไม่เพียงพอนั่นเอง ซึ่งตรงจุดนี้เองผู้เลี้ยงจะต้อง คอยหมั่นสังเกตและเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด หากพบว่า อาหารหมดเร็ว กินไม่อิ่ม จําเป็นจะต้องเทอาหารให้เพิ่ม
Smartlink
เพราะถ้าอาหารขาดรางเมื่อไหร่ก็จะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อการให้ไข่ (เด้งที่ 2 ครับ) โดยเป็ดที่ได้อาหาร ไม่เพียงพอ ก็จะให้ผลผลิตไม่สม่ําเสมอเท่าที่ควร
ผู้เขียนจึงขอแนะนําให้ใช้อาหารสําเร็จรูป 100% เพราะอย่างน้อยสูตรอาหารทุกสูตรที่ผ่านการคํานวณ ให้มีระดับโภชนะครบถ้วนทั้งธาตุอาหารหลัก (Marconutrition) ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต) และธาตุอาหารรอง (Micro nutrition) ซึ่งประกอบด้วย วิตามิน และแร่ธาตุ อย่างสมดุล โดยเป็ดไข่แต่ละสายพันธุ์จะมีความต้องการสาร
 
อาหารที่มากน้อยไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการให้ผลผลิต
เป็ดที่ไข่ดกและฟองใหญ่จะต้องการสารอาหารต่อวัน มากกว่าเป็ดที่ไข่ไม่ตกและฟองเล็ก เป็นต้น ซึ่งนักวิจัย อาหารสัตว์ได้ทําการศึกษาความต้องการสารอาหาร
(nutrient requirement) ของเป็ดไข่ในทุกช่วงการ เจริญเติบโตและทุกช่วงการให้ไข่ เพื่อให้ได้เป็ดที่มี สุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง ให้ผลผลิตสูง ตาม ศักยภาพของสายพันธุ์ ไข่ทนยาวนาน สามารถให้ ผลผลิตไข่สะสมต่อปีมากขึ้น ช่วยยืดอายุการปลดของ แม่เป็ด มีไข่สดคุณภาพดีส่งลูกค้าทุกวัน และที่สําคัญ คือ มีต้นทุน ค่าพันธุ์สัตว์ลดลง
 
Smart link
สําหรับสายพันธุ์เป็ดไข่ที่มีโครงสร้างและขนาดตัวค่อนข้างเล็ก ก็มักจะให้ไข่ที่ฟองเล็กโดยธรรมชาติหากผู้เลี้ยงต้องการไข่ที่ฟองใหญ่ขึ้น จําเป็นจะต้องใช้อาหารสําเร็จรูปที่มีโปรตีนสูงอย่างน้อย 21% จึงจะช่วยเพิ่มขนาดและน้ําหนักของไข่ได้ แต่ราคาอาหารก็มักจะสูงเพิ่มขึ้นตามระดับเปอร์เซ็นต์ของโปรตีน
กล่าวคือต้นทุนค่าอาหารก็จะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกันในส่วนของเป็ดสายพันธุ์ที่ตัวใหญ่กว่า ก็จะให้ไข่ ที่ฟองใหญ่กว่าโดยธรรมชาติ จึงไม่จําเป็นจะต้องใช้อาหารที่มีโปรตีนสูงแต่อย่างใด กล่าวคือสามารถใช้อาหารที่มีโปรตีนแค่ 17-18% ก็เพียงพอแล้ว โดยไม่กระทบต่อการให้ไข่อสรุปก็คือ ถ้าเราอยากเลี้ยงเป็ดไข่ที่ให้ไข่ดก ไข่ทน ไข่นาน นอกจากจะต้องหาสายพันธุ์เป็ดไข่ ที่ดีแล้วอาหารที่ใช้ก็ต้องเหมาะสม ครบทุกหมู่ “โปรตีนและพลังงานเป็นพระเอก แต่วิตามินและ แร่ธาตุก็เป็นพระรองที่จําเป็นขาดไม่ได้เลย” โดยสูตรอาหารที่เข้มข้น เป็ดจะกินน้อย แต่ได้สาร อาหารมาก ครบถ้วน และเพียงพอต่อการให้ผลผลิต ซึ่งราคาจะเหมาะสมกับความเข้มข้นของสารอาหาร เป็นสําคัญ

Smart link

“ความสําเร็จที่ยิ่งใหญ่เกิดได้จากรายละเอียด เพียงเล็กน้อย” ยิ่งเลี้ยงจํานวนมากๆ ยิ่งต้องใส่ใจใน ทุกรายละเอียดสําหรับปีใหม่ไทย (สงกรานต์) ปีนี้ผู้เขียนขอ อวยพรให้ผู้อ่านทุกๆ ท่านและครอบครัว จงปลอดภัย จากโรคร้าย ปลอดภัยในทุกการเดินทาง ขอทุกท่าน จงประสบแต่ความสุข มีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีความเจริญก้าวหน้า และประสบความสําเร็จในทุกอาชีพการงาน เป็นที่รักของทุกๆ คนครับ….
สวัสดีครับ (หมอโต)
 ขอบคุณ นิตยสาร สาส์นไก่ & สุกร

1 Comment

  1. Pingback:duck egg food

Comments are closed.

error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!