Menu Close

การเลี้ยงไก่เนื้อ

การเลี้ยงไก่เนื้อ
 

การเลี้ยงไก่เนื้อ

เทคนิคการเลี้ยงไก่เนื้อ
การเลี้ยงไก่เนื้อ เป็นที่ต้องมีการจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ไก่มีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง และมีสถานะปลอดโรคอยู่เสมอ เพื่อให้มีประสิทธิภาพการผลิตสูง ได้ผลิตผลที่ดี มีความปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และคุ้มค่าต่อการลงทุน
ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการเลี้ยงไก่เนื้อมีดังนี้
 
1. พันธุ์ไก่ โดยทั่วไปนิยมใช้พันธุ์ไก่ลูกผสมหรือพันธุ์ไก่ทางการค้า ซึ่งมีการปรับปรุงพันธุ์มาโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นไก่ขนสีขาว หนังและแข้งสีเหลือง มีอัตราการเจริญเติบโตสูง อัตราอาหารแลกเนื้อต่ำ ใช้เวลาการเลี้ยงสั้นและคุ้มค่า แต่ต้องมีการดูแลจัดการอย่างถูกต้อง
 
2. อาหารไก่เนื้อ ควรใช้อาหารที่เหมาะสมกับพันธุ์ไก่จึงจะทำให้ประสิทธิภาพการผลิตสูงและคุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะไก่แต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่ออาหารไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น ควรใช้อาหารที่ใหม่และสดอยู่เสมอ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่ผสมยาและ/หรือสารต้องห้าม
 
3. ฟาร์มไก่เนื้อ ควรมีขนาดที่เหมาะสม น้ำท่วมไม่ถึง มีทางคมนาคมสะดวกสามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล มีระบบไฟฟ้าและแหล่งน้ำคุณภาพดี อยู่ห่างจากชุมชน วัด โรงเรียน ตลาดค้าสัตว์มีชีวิต และโรงฆ่าสัตว์ ตามมาตรฐานฟาร์มของกรมปศุสัตว์
 
4. โรงเรือนอีแว๊ปไก่เนื้อ ควรออกแบบและก่อสร้างอย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาวะอากาศในท้องถิ่น
 
5. เครื่องควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน ควรใช้แบบ Microprocessor ที่ทำงานเป็นปัจจุบัน (Real Time) สามารถควบคุมการทำงานของพัดลมและปั๊มน้ำได้ตามค่า
อุณหภูมิ ความชื้น และ Heat Stress Index (HSI) ทั้งนี้ ไม่ควรใช้อุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) ควบคุมการเปิด-ปิดปั๊มน้ำ เพราะไม่มีความแม่นยำ และมักทำให้อุณหภูมิในโรงเรือนแกว่งตัวสูง (มีค่าอุณหภูมิสูง-ต่ำ ต่างกันมาก) และอาจทำให้ความชื้นในโรงเรือนสูงมากเกินไป (หรือค่า HSI สูงเกิน 167) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อไก่ถึงตายได้
Temp controller
 
6. หลักการควบคุมอุณหภูมิใน โรงเรือนแบบปิด โดยทั่วไป อุณหภูมิสำหรับลูกไก่อายุ 1 – 21 วัน มีความสำคัญต่อ การสร้างภูมิคุ้มโรค การเจริญเติบโต และระบบฮอร์โมนของไก่อย่างมาก
จึงควรควบคุมอุณหภูมิอย่างเข้มงวด ดังนี้ ลูกไก่อายุ 1 วัน ควรควบคุมอุณหภูมิที่ 32 – 34 °C จากนั้นให้ลดอุณหภูมิกกลงทุก 5 วัน ครั้งละ 1 °C เมื่อไก่มีอายุครบ 21 วัน อุณหภูมิควรอยู่ในเกณฑ์ สภาวะเหมาะสม (Comfortable Zone) คือ 18 – 25 °C สำหรับท้องถิ่นภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
 
7. การกกลูกไก่ โดยทั่วไป ลูกไก่อายุ 7 วันแรก ต้องการพื้นที่เพียง 1 ใน 3 ส่วนของพื้นที่เลี้ยงไก่ทั้งหมดเท่านั้น จึงแนะนำให้ใช้พื้นที่กกเท่าที่จำเป็นเพื่อประหยัดพลังงานและแรงงาน
 
8. เครื่องกกลูกไก่ที่เหมาะสม ปกติโรงเรือนอีแว๊ปจะมีการระบายอากาศอยู่ตลอดเวลา จึงแนะนำให้ใช้ เครื่องกกลูกไก่ แบบรังสีความร้อน (Infrared Brooder) เมื่อรังสีอินฟราเรดตกกระทบวัตถุมันจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนและให้ความอบอุ่นเฉพาะบริเวณ (Spot Heater) ซึ่งเป็นการส่งความร้อนด้วยวิธี การแผ่รังสีความร้อน(Heat Radiation)ลมจึงไม่มีผลต่อปริมาณความร้อนที่ส่งไป เว้นแต่เมื่อรังสีอินฟราเรดได้ตกกระทบวัตถุและเปลี่ยนเป็นความร้อนแล้ว ดังนั้น การกกลูกไก่ด้วยเครื่องกกแบบนี้ จึงควรใช้ แผ่นป้องกันลม (Wind Guard) มีลักษณะเป็นแผ่นทึบสูงประมาณ 0.30 – 0.50 เมตร ปิดล้อมรอบพื้นที่กกลูกไก่ เพื่อป้องกันไม่ให้ลมพัด ผ่านตัวลูกไก่โดยตรงซึ่งส่งผลต่ออุณหภูมิในพื้นที่กกด้วย
 
9. เทคนิคการจัดการกกลูกไก่ ก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม ควรเปิดเครื่องกกให้ได้อุณหภูมิตามที่ต้องการ เมื่อลูกไก่มาถึง ให้นับจำนวนและนำเข้ากกทันที ควรดูแลให้ลูกไก่ได้รับความอบอุ่นอย่างสม่ำเสมอทั่วถึงทุกตัว ควรผสมน้ำตาลทรายในน้ำดื่มประมาณ 5% (ควรเป็นน้ำตาลทรายแบบไม่ฟอกสี) ให้ลูกไก่ได้ดื่มเฉพาะช่วงเวลา 12 ชั่วโมงแรกที่เข้ากก เพื่อช่วยลดความอ่อนเพลียจากการเดินทางและช่วยกระตุ้นระบบทางเดินอาหารของลูกไก่ก่อนกินอาหาร กรณีลูกไก่มีความเครียดสูงหรือมีอาการเสียน้ำ (Dehydration)
จากการเดินทาง
Temp controller
 
10. การให้แสงสว่าง แสงสว่างที่คนมองเห็น
 
11. การจัดการดูแลฝูงไก่เนื้อ โดยทั่วไป ไก่ควรได้รับวัคซีนอย่างถูกต้องเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงไก่ในแต่ละท้องถิ่นตามคำแนะนำของสัตวแพทย์ หมั่นตรวจดูอาการและพฤติกรรมของไก่
เมื่อพบสิ่งผิดปกติให้รีบค้นหาสาเหตุและแก้ไขโดยเร็ว
 
12. PI score เป็นข้อมูลสำคัญ ใช้ในการประเมินและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่เนื้อ ทั้งนี้ การพัฒนาการเลี้ยงไก่ให้ดีขึ้นต่อไป การหาค่า Performance Index (PI หรือ PI score) ใช้สูตรในการคำนวณ ดังนี้
PI Score = น้ำหนักไก่เฉลี่ย x % การเลี้ยงรอด x 100 ÷ จำนวนวันที่เลี้ยง x FCR
ข้อสังเกต ควรเปรียบเทียบค่า PI Score ในการเลี้ยงไก่ขนาดเดียวกัน (ค่ายิ่งมากยิ่งดี) และการเลี้ยงไก่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทำให้ PI Score มีค่าลดลง ดังนั้น จึงควรพิจารณาความคุ้มค่าในการผลิตร่วมด้วย
 
ขอบคุณ  สมาคมผู้เลี้ยงไก่
 
 

การเลี้ยงไก่เนื้อ

เทคนิคการเลี้ยงไก่เนื้อ
การเลี้ยงไก่เนื้อ เป็นที่ต้องมีการจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ไก่มีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง และมีสถานะปลอดโรคอยู่เสมอ เพื่อให้มีประสิทธิภาพการผลิตสูง ได้ผลิตผลที่ดี มีความปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และคุ้มค่าต่อการลงทุน
ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการเลี้ยงไก่เนื้อมีดังนี้
 
1. พันธุ์ไก่ โดยทั่วไปนิยมใช้พันธุ์ไก่ลูกผสมหรือพันธุ์ไก่ทางการค้า ซึ่งมีการปรับปรุงพันธุ์มาโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นไก่ขนสีขาว หนังและแข้งสีเหลือง มีอัตราการเจริญเติบโตสูง อัตราอาหารแลกเนื้อต่ำ ใช้เวลาการเลี้ยงสั้นและคุ้มค่า แต่ต้องมีการดูแลจัดการอย่างถูกต้อง
 
2. อาหารไก่เนื้อ ควรใช้อาหารที่เหมาะสมกับพันธุ์ไก่จึงจะทำให้ประสิทธิภาพการผลิตสูงและคุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะไก่แต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่ออาหารไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น ควรใช้อาหารที่ใหม่และสดอยู่เสมอ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่ผสมยาและ/หรือสารต้องห้าม
 
3. ฟาร์มไก่เนื้อ ควรมีขนาดที่เหมาะสม น้ำท่วมไม่ถึง มีทางคมนาคมสะดวกสามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล มีระบบไฟฟ้าและแหล่งน้ำคุณภาพดี อยู่ห่างจากชุมชน วัด โรงเรียน ตลาดค้าสัตว์มีชีวิต และโรงฆ่าสัตว์ ตามมาตรฐานฟาร์มของกรมปศุสัตว์
 
4. โรงเรือนอีแว๊ปไก่เนื้อ ควรออกแบบและก่อสร้างอย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาวะอากาศในท้องถิ่น
Temp controller
 
5. เครื่องควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน ควรใช้แบบ Microprocessor ที่ทำงานเป็นปัจจุบัน (Real Time) สามารถควบคุมการทำงานของพัดลมและปั๊มน้ำได้ตามค่า
อุณหภูมิ ความชื้น และ Heat Stress Index (HSI) ทั้งนี้ ไม่ควรใช้อุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) ควบคุมการเปิด-ปิดปั๊มน้ำ เพราะไม่มีความแม่นยำ และมักทำให้อุณหภูมิในโรงเรือนแกว่งตัวสูง (มีค่าอุณหภูมิสูง-ต่ำ ต่างกันมาก) และอาจทำให้ความชื้นในโรงเรือนสูงมากเกินไป (หรือค่า HSI สูงเกิน 167) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อไก่ถึงตายได้
 
6. หลักการควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือนแบบปิด โดยทั่วไป อุณหภูมิสำหรับลูกไก่อายุ 1 – 21 วัน มีความสำคัญต่อ การสร้างภูมิคุ้มโรค การเจริญเติบโต และระบบฮอร์โมนของไก่อย่างมาก
จึงควรควบคุมอุณหภูมิอย่างเข้มงวด ดังนี้ ลูกไก่อายุ 1 วัน ควรควบคุมอุณหภูมิที่ 32 – 34 °C จากนั้นให้ลดอุณหภูมิกกลงทุก 5 วัน ครั้งละ 1 °C เมื่อไก่มีอายุครบ 21 วัน อุณหภูมิควรอยู่ในเกณฑ์ สภาวะเหมาะสม (Comfortable Zone) คือ 18 – 25 °C สำหรับท้องถิ่นภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
 
7. การกกลูกไก่ โดยทั่วไป ลูกไก่อายุ 7 วันแรก ต้องการพื้นที่เพียง 1 ใน 3 ส่วนของพื้นที่เลี้ยงไก่ทั้งหมดเท่านั้น จึงแนะนำให้ใช้พื้นที่กกเท่าที่จำเป็นเพื่อประหยัดพลังงานและแรงงาน
 
8. เครื่องกกลูกไก่ที่เหมาะสม ปกติโรงเรือนอีแว๊ปจะมีการระบายอากาศอยู่ตลอดเวลา จึงแนะนำให้ใช้ เครื่องกกลูกไก่ แบบรังสีความร้อน (Infrared Brooder) เมื่อรังสีอินฟราเรดตกกระทบวัตถุมันจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนและให้ความอบอุ่นเฉพาะบริเวณ (Spot Heater) ซึ่งเป็นการส่งความร้อนด้วยวิธี การแผ่รังสีความร้อน(Heat Radiation)ลมจึงไม่มีผลต่อปริมาณความร้อนที่ส่งไป เว้นแต่เมื่อรังสีอินฟราเรดได้ตกกระทบวัตถุและเปลี่ยนเป็นความร้อนแล้ว ดังนั้น การกกลูกไก่ด้วยเครื่องกกแบบนี้ จึงควรใช้ แผ่นป้องกันลม (Wind Guard) มีลักษณะเป็นแผ่นทึบสูงประมาณ 0.30 – 0.50 เมตร ปิดล้อมรอบพื้นที่กกลูกไก่ เพื่อป้องกันไม่ให้ลมพัด ผ่านตัวลูกไก่โดยตรงซึ่งส่งผลต่ออุณหภูมิในพื้นที่กกด้วย
 
9. เทคนิคการจัดการกกลูกไก่ ก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม ควรเปิดเครื่องกกให้ได้อุณหภูมิตามที่ต้องการ เมื่อลูกไก่มาถึง ให้นับจำนวนและนำเข้ากกทันที ควรดูแลให้ลูกไก่ได้รับความอบอุ่นอย่างสม่ำเสมอทั่วถึงทุกตัว
ควรผสมน้ำตาลทรายในน้ำดื่มประมาณ 5% (ควรเป็นน้ำตาลทรายแบบไม่ฟอกสี) ให้ลูกไก่ได้ดื่มเฉพาะช่วงเวลา 12 ชั่วโมงแรกที่เข้ากก เพื่อช่วยลดความอ่อนเพลียจากการเดินทางและช่วยกระตุ้นระบบทางเดินอาหารของลูกไก่ก่อนกินอาหาร กรณีลูกไก่มีความเครียดสูงหรือมีอาการเสียน้ำ (Dehydration)
จากการเดินทาง
Temp controller
 
10. การให้แสงสว่าง แสงสว่างที่คนมองเห็น
 
11. การจัดการดูแลฝูงไก่เนื้อ โดยทั่วไป ไก่ควรได้รับวัคซีนอย่างถูกต้องเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงไก่ในแต่ละท้องถิ่นตามคำแนะนำของสัตวแพทย์ หมั่นตรวจดูอาการและพฤติกรรมของไก่
เมื่อพบสิ่งผิดปกติให้รีบค้นหาสาเหตุและแก้ไขโดยเร็ว
 
12. PI score เป็นข้อมูลสำคัญ ใช้ในการประเมินและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่เนื้อ ทั้งนี้ การพัฒนาการเลี้ยงไก่ให้ดีขึ้นต่อไป การหาค่า Performance Index (PI หรือ PI score) ใช้สูตรในการคำนวณ ดังนี้
PI Score = น้ำหนักไก่เฉลี่ย x % การเลี้ยงรอด x 100 ÷ จำนวนวันที่เลี้ยง x FCR
ข้อสังเกต ควรเปรียบเทียบค่า PI Score ในการเลี้ยงไก่ขนาดเดียวกัน (ค่ายิ่งมากยิ่งดี) และการเลี้ยงไก่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทำให้ PI Score มีค่าลดลง ดังนั้น จึงควรพิจารณาความคุ้มค่าในการผลิตร่วมด้วย
 
ขอบคุณ  สมาคมผู้เลี้ยงไก่
 
 

การเลี้ยงไก่เนื้อ

 
เทคนิคการเลี้ยงไก่เนื้อ
การเลี้ยงไก่เนื้อ เป็นที่ต้องมีการจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ไก่มีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง และมีสถานะปลอดโรคอยู่เสมอ เพื่อให้มีประสิทธิภาพการผลิตสูง ได้ผลิตผลที่ดี มีความปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และคุ้มค่าต่อการลงทุน
 
ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการเลี้ยงไก่เนื้อมีดังนี้
 
1. พันธุ์ไก่ โดยทั่วไปนิยมใช้พันธุ์ไก่ลูกผสมหรือพันธุ์ไก่ทางการค้า ซึ่งมีการปรับปรุงพันธุ์มาโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นไก่ขนสีขาว หนังและแข้งสีเหลือง มีอัตราการเจริญเติบโตสูง อัตราอาหารแลกเนื้อต่ำ ใช้เวลาการเลี้ยงสั้นและคุ้มค่า แต่ต้องมีการดูแลจัดการอย่างถูกต้อง
Temp controller
 
 
2. อาหารไก่เนื้อ ควรใช้อาหารที่เหมาะสมกับพันธุ์ไก่จึงจะทำให้ประสิทธิภาพการผลิตสูงและคุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะไก่แต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่ออาหารไม่เหมือนกัน นอกจากนั้น ควรใช้อาหารที่ใหม่และสดอยู่เสมอ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่ผสมยาและ/หรือสารต้องห้าม
 
3. ฟาร์มไก่เนื้อ ควรมีขนาดที่เหมาะสม น้ำท่วมไม่ถึง มีทางคมนาคมสะดวกสามารถใช้ได้ทุกฤดูกาล มีระบบไฟฟ้าและแหล่งน้ำคุณภาพดี อยู่ห่างจากชุมชน วัด โรงเรียน ตลาดค้าสัตว์มีชีวิต และโรงฆ่าสัตว์ ตามมาตรฐานฟาร์มของกรมปศุสัตว์
 
4. โรงเรือนอีแว๊ปไก่เนื้อ ควรออกแบบและก่อสร้างอย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาวะอากาศในท้องถิ่น
 
5. เครื่องควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน ควรใช้แบบ Microprocessor ที่ทำงานเป็นปัจจุบัน (Real Time) สามารถควบคุมการทำงานของพัดลมและปั๊มน้ำได้ตามค่า
อุณหภูมิ ความชื้น และ Heat Stress Index (HSI) ทั้งนี้ ไม่ควรใช้อุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) ควบคุมการเปิด-ปิดปั๊มน้ำ เพราะไม่มีความแม่นยำ และมักทำให้อุณหภูมิในโรงเรือนแกว่งตัวสูง (มีค่าอุณหภูมิสูง-ต่ำ ต่างกันมาก) และอาจทำให้ความชื้นในโรงเรือนสูงมากเกินไป (หรือค่า HSI สูงเกิน 167) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อไก่ถึงตายได้
 
6. หลักการควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือนแบบปิด โดยทั่วไป อุณหภูมิสำหรับลูกไก่อายุ 1 – 21 วัน มีความสำคัญต่อ การสร้างภูมิคุ้มโรค การเจริญเติบโต และระบบฮอร์โมนของไก่อย่างมาก จึงควรควบคุมอุณหภูมิอย่างเข้มงวด ดังนี้ ลูกไก่อายุ 1 วัน ควรควบคุมอุณหภูมิที่ 32 – 34 °C จากนั้นให้ลดอุณหภูมิกกลงทุก 5 วัน ครั้งละ 1 °C เมื่อไก่มีอายุครบ 21 วัน อุณหภูมิควรอยู่ในเกณฑ์ สภาวะเหมาะสม (Comfortable Zone) คือ 18 – 25 °C สำหรับท้องถิ่นภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
 
Temp controller
 
7. การกกลูกไก่ โดยทั่วไป ลูกไก่อายุ 7 วันแรก ต้องการพื้นที่เพียง 1 ใน 3 ส่วนของพื้นที่เลี้ยงไก่ทั้งหมดเท่านั้น จึงแนะนำให้ใช้พื้นที่กกเท่าที่จำเป็นเพื่อประหยัดพลังงานและแรงงาน
 
8. เครื่องกกลูกไก่ที่เหมาะสม ปกติโรงเรือนอีแว๊ปจะมีการระบายอากาศอยู่ตลอดเวลา จึงแนะนำให้ใช้ เครื่องกกลูกไก่ แบบรังสีความร้อน (Infrared Brooder) เมื่อรังสีอินฟราเรดตกกระทบวัตถุมันจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนและให้ความอบอุ่นเฉพาะบริเวณ (Spot Heater) ซึ่งเป็นการส่งความร้อนด้วยวิธี การแผ่รังสีความร้อน(Heat Radiation)ลมจึงไม่มีผลต่อปริมาณความร้อนที่ส่งไป เว้นแต่เมื่อรังสีอินฟราเรดได้ตกกระทบวัตถุและเปลี่ยนเป็นความร้อนแล้ว ดังนั้น การกกลูกไก่ด้วยเครื่องกกแบบนี้ จึงควรใช้ แผ่นป้องกันลม (Wind Guard) มีลักษณะเป็นแผ่นทึบสูงประมาณ 0.30 – 0.50 เมตร ปิดล้อมรอบพื้นที่กกลูกไก่ เพื่อป้องกันไม่ให้ลมพัด ผ่านตัวลูกไก่โดยตรงซึ่งส่งผลต่ออุณหภูมิในพื้นที่กกด้วย
 
9. เทคนิคการจัดการกกลูกไก่ ก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม ควรเปิดเครื่องกกให้ได้อุณหภูมิตามที่ต้องการ เมื่อลูกไก่มาถึง ให้นับจำนวนและนำเข้ากกทันที ควรดูแลให้ลูกไก่ได้รับความอบอุ่นอย่างสม่ำเสมอทั่วถึงทุกตัว
ควรผสมน้ำตาลทรายในน้ำดื่มประมาณ 5% (ควรเป็นน้ำตาลทรายแบบไม่ฟอกสี) ให้ลูกไก่ได้ดื่มเฉพาะช่วงเวลา 12 ชั่วโมงแรกที่เข้ากก เพื่อช่วยลดความอ่อนเพลียจากการเดินทางและช่วยกระตุ้นระบบทางเดินอาหารของลูกไก่ก่อนกินอาหาร กรณีลูกไก่มีความเครียดสูงหรือมีอาการเสียน้ำ (Dehydration)
จากการเดินทาง
Temp controller
 
10. การให้แสงสว่าง แสงสว่างที่คนมองเห็น
11. การจัดการดูแลฝูงไก่เนื้อ โดยทั่วไป ไก่ควรได้รับวัคซีนอย่างถูกต้องเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงไก่ในแต่ละท้องถิ่นตามคำแนะนำของสัตวแพทย์ หมั่นตรวจดูอาการและพฤติกรรมของไก่ เมื่อพบสิ่งผิดปกติให้รีบค้นหาสาเหตุและแก้ไขโดยเร็ว
 
12. PI score เป็นข้อมูลสำคัญ ใช้ในการประเมินและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่เนื้อ ทั้งนี้ การพัฒนาการเลี้ยงไก่ให้ดีขึ้นต่อไป การหาค่า Performance Index (PI หรือ PI score) ใช้สูตรในการคำนวณ ดังนี้
PI Score = น้ำหนักไก่เฉลี่ย x % การเลี้ยงรอด x 100 ÷ จำนวนวันที่เลี้ยง x FCR
ข้อสังเกต ควรเปรียบเทียบค่า PI Score ในการเลี้ยงไก่ขนาดเดียวกัน (ค่ายิ่งมากยิ่งดี) และการเลี้ยงไก่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทำให้ PI Score มีค่าลดลง ดังนั้น จึงควรพิจารณาความคุ้มค่าในการผลิตร่วมด้วย
 
 
ขอบคุณ  สมาคมผู้เลี้ยงไก่
 
siam water flame
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!