Menu Close

ความสำคัญเรื่อง น้ำหนักตัวของไก่

ความสพคัญเรื่องนํ้าหนักตัวของไก่

ความสำคัญเรื่อง น้ำหนักตัวของไก่

    การเลี้ยงไก่ไข่ในปัจจุบันทางผู้เลี้ยงจะมีทั้งการเลี้ยงไก่รุ่นเองหรือซื้อ ไก่สาวเข้ามาเลี้ยง สิ่งที่ทํานายประสิทธิภาพการผลิตไข่ในอนาคตได้ดีที่สุด คือ น้ําหนักตัวไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของ ฝูง (Uniformity) เป็นหลักเกณฑ์สําคัญต่อคุณภาพไก่สาว การให้ความสําคัญ เกี่ยวกับการพัฒนาการของอวัยวะหรือระบบต่างๆ ในแต่ละช่วงอายุ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการเลี้ยงไก่รุ่นเช่นกัน 
 
โดยเพิ่มให้ความสําคัญในสิ่งที่เรามองไม่เห็น นั่นคือความสมบูรณ์ของอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ภายในตัวสัตว์ ว่ามีความ พร้อมต่อการจะให้ประสิทธิภาพการผลิตไข่ที่สูง และคุณภาพของผลผลิตไข่ที่ดีตลอดอายุการเลี้ยงไก่ไข่หรือยัง มองทะลุ 1.ความสม่ําเสมอน้ําหนักตัวของฝูงกับการพัฒนาการของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ที่สําคัญในไก่สาว การเลี้ยงไก่รุ่น เราให้ความสําคัญเรื่องน้ําหนักตัว
 
 
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของฝูง (Uniformity) ตัวอย่าง มาตรฐานไก่รุ่น ช่วงอายุ 13-16สัปดาห์ ไก่รุ่นนั้นควรจะ มีค่ายูนิฟอร์มมากกว่า 85% ถือว่าเป็นหัวใจสําคัญต่อ ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น ดังนั้น การให้ความสําคัญกับ โปรแกรมการจัดการและการเลี้ยง การตัดปาก โปรแกรม วัคซีน การจัดการด้านโภชนาการ รวมถึงคุณภาพของ อาหารและน้ํา ปริมาณการกินอาหารได้ การจัดการเรื่อง การให้แสง การจัดการปัญหาจากความเครียด
Temp controller
 
พัฒนาการของอวัยวะต่าง ๆ ที่สําคัญในช่วงการเลี้ยงไก่รุ่นไข่การที่ผู้เลี้ยงได้รับทราบว่า ในแต่ละช่วงอายุของไก่รุ่นนั้นจะมีการพัฒนาการของอวัยวะอะไรบ้าง ถือได้ว่าเป็น หัวใจสําคัญต่อการจัดการ การประกอบสูตรอาหาร และที่สําคัญคือเลือกการใช้สารเสริมต่างๆ ซึ่งมีจํานวนมากใน ท้องตลาดให้มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาของอวัยวะได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในแต่ละช่วงอายุ ของไก่สาว
 
 

กล้ามเนื้อหน้าอก

ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหน้าอกถือว่ามี ความสําคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ว่า ไก่รุ่น ได้มีพัฒนาการที่เพียงพอ และทําให้เราสามารถคาด การณ์ผลผลิตของไก่ไข่ในอนาคตได้ กล้ามเนื้อหน้าอก นั้นมีความสําคัญ เนื่องจากประกอบด้วยไกลโคเจน 
 
ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ได้อย่างรวดเร็วสําหรับการ ผลิตไข่ ถ้าไก่ไข่ที่เริ่มให้ผลิตไข่ด้วยการมีกล้ามเนื้อ หน้าอกที่ไม่สมบูรณ์มากพอ ทําให้ไก่มีพลังงานไม่ เพียงพอต่อการให้ผลผลิตไข่ที่สูง และไม่สามารถยืน ระยะเวลา ซึ่งคะแนนของกล้ามเนื้อหน้าอกของไก่ที่จะ เริ่มให้ผลผลิตไข่ที่เหมาะสมควรมีคะแนนอยู่ที่ระดับ ประมาณ 2-3 ถือได้ว่าเป็นกล้ามเนื้อหน้าอกที่สมบูรณ์
 

การเจริญเติบโตของกระดูกโดยเฉพาะส่วนไขกระดูก (medullary bone)

 
กระดูกส่วนไขกระดูกจัดเป็นส่วนกระดูกที่มีความสําคัญต่อไก่ไข่อย่างยิ่ง ทําหน้าที่พิเศษเป็นที่กักเก็บแร่ธาตุ แคลเซียม เป็นแร่ธาตุที่มีความสําคัญต่อการสร้างเปลือกไข่ ซึ่งจะเริ่มมีการพัฒนาและกักเก็บแร่ธาตุแคลเซียมตอนไก่ รุ่นมีอายุประมาณ 15 สัปดาห์ เพื่อนําไปใช้เป็นแหล่งสํารองของแร่ธาตุแคลเซียม
ดังนั้น การเริ่มให้อาหารไก่ก่อนไข่ (Pre-Lay Diet) โดยเพิ่มปริมาณแคลเซียมในอาหารก่อนการวางไข่ใบแรก เพื่อเพิ่มการสะสมแคลเซียมเป็นสิ่งสําคัญ
 
 
โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) อายุไก่ 16 สัปดาห์
Cortical/Trabecular Bone
Medullary Bone โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) เมื่อเริ่มให้ผลผลิตไข่ฟองแรก
น้ําหนักเปลือกไข่ 1 ฟอง มีน้ําหนักประมาณ 5.5 กรัม พบว่ามีปริมาณแร่ธาตุแคลเซียมเป็นส่วน ประกอบถึงประมาณ 2.2 กรัม ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงเกือบ 50% ของน้ําหนักเปลือกไข่ทั้งหมด 1
 
พบว่าแหล่งแร่ธาตุแคลเซียมหลัก 60-80% นั้นได้มาจากอาหารที่ไก่กินเข้าไป และส่วนที่เหลือ ทางร่างกายไก่จะดึงเอาแคลเซียมที่ได้สะสมไว้ที่ส่วน ไขกระดูกนํามาใช้ในการสร้างเปลือกไข่ ดังนั้น การทํา ให้มีแร่ธาตุแคลเซียมสะสมที่ไขกระดูกมากที่สุด จึงมี ความสําคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของเปลือกไข่
Temp controller
 
 
 
    การเลี้ยงไก่ไข่ในปัจจุบันทางผู้เลี้ยงจะมีทั้งการเลี้ยงไก่รุ่นเองหรือซื้อ ไก่สาวเข้ามาเลี้ยง สิ่งที่ทํานายประสิทธิภาพการผลิตไข่ในอนาคตได้ดีที่สุด คือ น้ําหนักตัวไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของ ฝูง (Uniformity) เป็นหลักเกณฑ์สําคัญต่อคุณภาพไก่สาว การให้ความสําคัญ เกี่ยวกับการพัฒนาการของอวัยวะหรือระบบต่างๆ ในแต่ละช่วงอายุ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการเลี้ยงไก่รุ่นเช่นกัน โดยเพิ่มให้ความสําคัญในสิ่งที่เรามองไม่เห็น นั่นคือความสมบูรณ์ของอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ภายในตัวสัตว์ ว่ามีความ พร้อมต่อการจะให้ประสิทธิภาพการผลิตไข่ที่สูง และคุณภาพของผลผลิตไข่ที่ดีตลอดอายุการเลี้ยงไก่ไข่หรือยัง มองทะลุ 1.ความสม่ําเสมอน้ําหนักตัวของฝูงกับการพัฒนาการของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ที่สําคัญในไก่สาว การเลี้ยงไก่รุ่น เราให้ความสําคัญเรื่องน้ําหนักตัว
 
 
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของฝูง (Uniformity) ตัวอย่าง มาตรฐานไก่รุ่น ช่วงอายุ 13-16สัปดาห์ ไก่รุ่นนั้นควรจะ มีค่ายูนิฟอร์มมากกว่า 85% ถือว่าเป็นหัวใจสําคัญต่อ ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น ดังนั้น การให้ความสําคัญกับ โปรแกรมการจัดการและการเลี้ยง การตัดปาก โปรแกรม วัคซีน การจัดการด้านโภชนาการ รวมถึงคุณภาพของ อาหารและน้ํา ปริมาณการกินอาหารได้ การจัดการเรื่อง การให้แสง การจัดการปัญหาจากความเครียด
 
Temp controller
 
พัฒนาการของอวัยวะต่าง ๆ ที่สําคัญในช่วงการเลี้ยงไก่รุ่นไข่การที่ผู้เลี้ยงได้รับทราบว่า ในแต่ละช่วงอายุของไก่รุ่นนั้นจะมีการพัฒนาการของอวัยวะอะไรบ้าง ถือได้ว่าเป็น หัวใจสําคัญต่อการจัดการ การประกอบสูตรอาหาร และที่สําคัญคือเลือกการใช้สารเสริมต่างๆ ซึ่งมีจํานวนมากใน ท้องตลาดให้มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาของอวัยวะได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในแต่ละช่วงอายุ ของไก่สาว
 
 
 
กล้ามเนื้อหน้าอก
 
ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหน้าอกถือว่ามี ความสําคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ว่า ไก่รุ่น ได้มีพัฒนาการที่เพียงพอ และทําให้เราสามารถคาด การณ์ผลผลิตของไก่ไข่ในอนาคตได้ กล้ามเนื้อหน้าอก นั้นมีความสําคัญ เนื่องจากประกอบด้วยไกลโคเจน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ได้อย่างรวดเร็วสําหรับการ ผลิตไข่ ถ้าไก่ไข่ที่เริ่มให้ผลิตไข่ด้วยการมีกล้ามเนื้อ หน้าอกที่ไม่สมบูรณ์มากพอ ทําให้ไก่มีพลังงานไม่ เพียงพอต่อการให้ผลผลิตไข่ที่สูง และไม่สามารถยืน ระยะเวลา ซึ่งคะแนนของกล้ามเนื้อหน้าอกของไก่ที่จะ เริ่มให้ผลผลิตไข่ที่เหมาะสมควรมีคะแนนอยู่ที่ระดับ ประมาณ 2-3 ถือได้ว่าเป็นกล้ามเนื้อหน้าอกที่สมบูรณ์
 
 
การเจริญเติบโตของกระดูกโดยเฉพาะส่วนไขกระดูก (medullary bone)
 
กระดูกส่วนไขกระดูกจัดเป็นส่วนกระดูกที่มีความสําคัญต่อไก่ไข่อย่างยิ่ง ทําหน้าที่พิเศษเป็นที่กักเก็บแร่ธาตุ แคลเซียม เป็นแร่ธาตุที่มีความสําคัญต่อการสร้างเปลือกไข่ ซึ่งจะเริ่มมีการพัฒนาและกักเก็บแร่ธาตุแคลเซียมตอนไก่ รุ่นมีอายุประมาณ 15 สัปดาห์ เพื่อนําไปใช้เป็นแหล่งสํารองของแร่ธาตุแคลเซียม ดังนั้น การเริ่มให้อาหารไก่ก่อนไข่ (Pre-Lay Diet) โดยเพิ่มปริมาณแคลเซียมในอาหารก่อนการวางไข่ใบแรก เพื่อเพิ่มการสะสมแคลเซียมเป็นสิ่งสําคัญ
 
 
โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) อายุไก่ 16 สัปดาห์
Cortical/Trabecular Bone
Medullary Bone โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) เมื่อเริ่มให้ผลผลิตไข่ฟองแรก
น้ําหนักเปลือกไข่ 1 ฟอง มีน้ําหนักประมาณ 5.5 กรัม พบว่ามีปริมาณแร่ธาตุแคลเซียมเป็นส่วน ประกอบถึงประมาณ 2.2 กรัม ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงเกือบ 50% ของน้ําหนักเปลือกไข่ทั้งหมด 1
 
Temp controller
พบว่าแหล่งแร่ธาตุแคลเซียมหลัก 60-80% นั้นได้มาจากอาหารที่ไก่กินเข้าไป และส่วนที่เหลือ ทางร่างกายไก่จะดึงเอาแคลเซียมที่ได้สะสมไว้ที่ส่วน ไขกระดูกนํามาใช้ในการสร้างเปลือกไข่ ดังนั้น การทํา ให้มีแร่ธาตุแคลเซียมสะสมที่ไขกระดูกมากที่สุด จึงมี ความสําคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของเปลือกไข่
 
    การเลี้ยงไก่ไข่ในปัจจุบันทางผู้เลี้ยงจะมีทั้งการเลี้ยงไก่รุ่นเองหรือซื้อ ไก่สาวเข้ามาเลี้ยง สิ่งที่ทํานายประสิทธิภาพการผลิตไข่ในอนาคตได้ดีที่สุด คือ น้ําหนักตัวไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของ ฝูง (Uniformity) เป็นหลักเกณฑ์สําคัญต่อคุณภาพไก่สาว การให้ความสําคัญ เกี่ยวกับการพัฒนาการของอวัยวะหรือระบบต่างๆ ในแต่ละช่วงอายุ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการเลี้ยงไก่รุ่นเช่นกัน โดยเพิ่มให้ความสําคัญในสิ่งที่เรามองไม่เห็น นั่นคือความสมบูรณ์ของอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ภายในตัวสัตว์ ว่ามีความ พร้อมต่อการจะให้ประสิทธิภาพการผลิตไข่ที่สูง และคุณภาพของผลผลิตไข่ที่ดีตลอดอายุการเลี้ยงไก่ไข่หรือยัง มองทะลุ 1.ความสม่ําเสมอน้ําหนักตัวของฝูงกับการพัฒนาการของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ที่สําคัญในไก่สาว การเลี้ยงไก่รุ่น เราให้ความสําคัญเรื่องน้ําหนักตัว
 
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น และความสม่ําเสมอของฝูง (Uniformity) ตัวอย่าง มาตรฐานไก่รุ่น ช่วงอายุ 13-16สัปดาห์ ไก่รุ่นนั้นควรจะ มีค่ายูนิฟอร์มมากกว่า 85% ถือว่าเป็นหัวใจสําคัญต่อ ประสิทธิภาพการเลี้ยงไก่รุ่น ดังนั้น การให้ความสําคัญกับ โปรแกรมการจัดการและการเลี้ยง การตัดปาก โปรแกรม วัคซีน การจัดการด้านโภชนาการ รวมถึงคุณภาพของ อาหารและน้ํา ปริมาณการกินอาหารได้ การจัดการเรื่อง การให้แสง การจัดการปัญหาจากความเครียด

Temp controller

พัฒนาการของอวัยวะต่าง ๆ ที่สําคัญในช่วงการเลี้ยงไก่รุ่นไข่การที่ผู้เลี้ยงได้รับทราบว่า ในแต่ละช่วงอายุของไก่รุ่นนั้นจะมีการพัฒนาการของอวัยวะอะไรบ้าง ถือได้ว่าเป็น หัวใจสําคัญต่อการจัดการ การประกอบสูตรอาหาร และที่สําคัญคือเลือกการใช้สารเสริมต่างๆ ซึ่งมีจํานวนมากใน ท้องตลาดให้มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาของอวัยวะได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในแต่ละช่วงอายุ ของไก่สาว
 
 
กล้ามเนื้อหน้าอก
ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหน้าอกถือว่ามี ความสําคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ว่า ไก่รุ่น ได้มีพัฒนาการที่เพียงพอ และทําให้เราสามารถคาด การณ์ผลผลิตของไก่ไข่ในอนาคตได้ กล้ามเนื้อหน้าอก นั้นมีความสําคัญ เนื่องจากประกอบด้วยไกลโคเจน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ได้อย่างรวดเร็วสําหรับการ ผลิตไข่ ถ้าไก่ไข่ที่เริ่มให้ผลิตไข่ด้วยการมีกล้ามเนื้อ หน้าอกที่ไม่สมบูรณ์มากพอ ทําให้ไก่มีพลังงานไม่ เพียงพอต่อการให้ผลผลิตไข่ที่สูง และไม่สามารถยืน ระยะเวลา ซึ่งคะแนนของกล้ามเนื้อหน้าอกของไก่ที่จะ เริ่มให้ผลผลิตไข่ที่เหมาะสมควรมีคะแนนอยู่ที่ระดับ ประมาณ 2-3 ถือได้ว่าเป็นกล้ามเนื้อหน้าอกที่สมบูรณ์
 
การเจริญเติบโตของกระดูกโดยเฉพาะส่วนไขกระดูก (medullary bone)
กระดูกส่วนไขกระดูกจัดเป็นส่วนกระดูกที่มีความสําคัญต่อไก่ไข่อย่างยิ่ง ทําหน้าที่พิเศษเป็นที่กักเก็บแร่ธาตุ แคลเซียม เป็นแร่ธาตุที่มีความสําคัญต่อการสร้างเปลือกไข่ ซึ่งจะเริ่มมีการพัฒนาและกักเก็บแร่ธาตุแคลเซียมตอนไก่ รุ่นมีอายุประมาณ 15 สัปดาห์ เพื่อนําไปใช้เป็นแหล่งสํารองของแร่ธาตุแคลเซียม ดังนั้น การเริ่มให้อาหารไก่ก่อนไข่ (Pre-Lay Diet) โดยเพิ่มปริมาณแคลเซียมในอาหารก่อนการวางไข่ใบแรก เพื่อเพิ่มการสะสมแคลเซียมเป็นสิ่งสําคัญ
 
โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) อายุไก่ 16 สัปดาห์
Cortical/Trabecular Bone
Medullary Bone โครงสร้างของกระดูกส่วนไขกระดูก (Medullary bone) เมื่อเริ่มให้ผลผลิตไข่ฟองแรก
น้ําหนักเปลือกไข่ 1 ฟอง มีน้ําหนักประมาณ 5.5 กรัม พบว่ามีปริมาณแร่ธาตุแคลเซียมเป็นส่วน ประกอบถึงประมาณ 2.2 กรัม ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงเกือบ 50% ของน้ําหนักเปลือกไข่ทั้งหมด 1
Temp controllerพบว่าแหล่งแร่ธาตุแคลเซียมหลัก 60-80% นั้นได้มาจากอาหารที่ไก่กินเข้าไป และส่วนที่เหลือ ทางร่างกายไก่จะดึงเอาแคลเซียมที่ได้สะสมไว้ที่ส่วน ไขกระดูกนํามาใช้ในการสร้างเปลือกไข่ ดังนั้น การทํา ให้มีแร่ธาตุแคลเซียมสะสมที่ไขกระดูกมากที่สุด จึงมี ความสําคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของเปลือกไข่
 
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!