Menu Close

Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต

Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต

Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต

การผลิต Nitrogen

    ในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ บรรยากาศและก๊าซที่อยู่ในบรรยากาศก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน อาทิ ใช้ในการพ่น การเป่า การขับเคลื่อนวัตถุดิบเพื่อการผลิต ฯลฯ แต่ในการผลิตยาและเครื่องสำอางที่ต้องการเรื่องความปลอดภัยที่สูง การใช้ก๊าซที่มีคุณสมบัติที่ไม่ทำปฏิกริยากับสิ่งที่ผลิต และเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน ก๊าซไนโตรเจน จึงเป็นก๊าซที่มีบทบาทสูงมาก
“ด้วยคุณสมบัติของก๊าซไนโตรเจน เปรียบเสมือนก๊าซเฉื่อย ไม่ติดไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ และมีปริมาณมากที่สุดในบรรยากาศ คือ 78% ขณะที่ก๊าซออกซิเจนในบรรยากาศจะมีปริมาณ 20.9% แต่ออกซิเจนเป็นตัวที่ทำให้เกิดปัญหามากที่สุด
 

Nitrogen ก๊าซไนโตรเจน ใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ในการผลิต

 
    หากเป็นการใช้งานโดยทั่วไป เช่น การเติมยางรถยนต์ ใช้เป็นตัวทดสอบระบบการรั่วของท่อ หรือเรียกว่า test leak เพราะท่อหรือ คอยล์ ต่างๆ การเชื่อมเป็นข้อเล็กๆ เราสามารถอัดก๊าซไนโตรเจนเข้าไปเพื่อทดสอบว่ามีการรั่วไหลหรือไม่ และก๊าซไนโตรเจนเป็น clean dry gas มีจุด dew point ที่ -40 ํC คือเป็นก๊าซที่แห้งมาก 
ไม่ก่อให้เกิดการควบแน่น หรือ condense ในท่อ เช่นลมที่ส่งในท่อระยะทางสิบกิโลเมตร ถ้าเป็นลมทั่วไปจะเกิดหยดน้ำในระหว่างทาง แต่หากใช้ก๊าซไนโตรเจนจะไม่เกิดการควบแน่น เรียกว่าเป็นก๊าซที่แห้งมาก เป็น inert gas เพราะฉะนั้นก๊าซอะไรก็ตามที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรม หากจะก่อให้เกิดปฏิกริยาทางเคมี เราจะใช้ไนโตรเจนเข้าไปแทนที่ จึงทำให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นก๊าซที่มีการใช้กันมาก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิตยาและเครื่องสำอาง ซึ่งเป็นสินค้าที่ต้องมีคุณภาพที่มาตรฐานความปลอดภัยรองรับ”
 
นอกจากนั้น ในโรงงานอุตสาหกรรมยังใช้ก๊าซไนโตรเจนในขั้นตอนของการเก็บรักษา หรือ stock material post โดยใช้ในขั้นตอนของแพ็คเกจจิ้ง ก่อนที่จะ finishing product โดยจะเก็บไนโตรเจนเอาไว้ในแพคเกจจิ้ง เพื่อยืดอายุของตัวยา ป้องกันการเกิดปฏิกริยาที่จะทำให้คุณสมบัติของยาเปลี่ยนไป
 

เครื่องผลิตก๊าซไนโตรเจนช่วยลดต้นทุนและทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

 
     มีการใช้งานก๊าซไนโตรเจนภายในอุตสาหกรรมอยู่หลายด้าน มีกระบวนการมากมายที่จำเป็นต้องใช้ก๊าซไนโตรเจนบริสุทธิ์อย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย และการลดต้นทุนให้ต่ำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกัน มีวิธีการใดหรือไม่ที่ทำให้อุตสาหกรรมของท่านสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างยั่งยืน
 
การผลิตก๊าซไนโตรเจนใช้ภายในโรงงานช่วยลดต้นทุนได้มหาศาล และทดแทนการใช้ไนโตรเจนเหลวหรือไนโตรเจนบรรจุหลอดได้อย่างคุ้มค่า การผลิตก๊าซไนโตรเจนต้นทุนต่ำภายในโรงงานจากอากาศโดยรอบทำให้การลงทุนคุ้มค่าอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้อุตสาหกรรมของท่านประสบความสำเร็จ
การผลิตก๊าซไนโตรเจนภายในโรงงานยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการขาดแคลนและการทำงานหยุดชะงักลงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลหรือเข้าถึงยาก ซึ่งการขนส่งไนโตรเจนเหลวไม่สามารถดำเนินการได้ การผลิต N2 ภายในโรงงานทำให้มีก๊าซไนโตรเจนใช้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ที่ใด การเลือกใช้ก๊าซไนโตรเจน


      แหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจน ที่มีการใช้กันในอุตสาหกรรมมีหลายรูปแบบ คือ
1. แบบถัง cylinder ที่บรรจุเป็นก๊าซไนโตรเจน
2. แบบ Dewar เป็นโนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว
3. แบบ Bulk จะเก็บในรูปของไนโตรเจนเหลว ถ้าต้องการใช้ก็จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ
 
      ในแต่ละแบบจะมีข้อดี ข้อเสีย รวมถึงต้นทุนที่ต่างกัน โดยแบบถังก๊าซไนโตรเจน หรือที่เรียกว่า cylinder อาจจะเป็นรูปแบบที่คุ้นตา เนื่องจากมีการใช้กันมาก เพราะราคาถูกในตอนเริ่มต้น แต่ก็มีข้อเสียคือ ต้องมีการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย เนื่องจากการขนย้าย หรือ การเปลี่ยนถังต่างๆ อาจเกิดอุบัติเหตุได้ เนื่องจากความอัดอากาศภายในถังมีความกดสูงถึง 200 บาร์ หากตัวเปิดปิดไม่สมบูรณ์อาจเกิดการระเบิด และอันตรายจากแรงดันของถังได้ ข้อเสีย คือไม่สามารถตรวจสอบคุณสมบัติของก๊าซโนไตรเจนที่ใช้ได้
แบบที่สองคือ Dewar จะเก็บไนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว การใช้งานจะมีชุดวาวล์เป็นตัวคอนโทรล จะมีการสูญเสียก๊าซไนโตรเจน ถ้าเราไม่ได้ใช้นาน
แบบที่สามคือ Bulk เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมในภาคอุตสาหกรรม โดยจะเก็บในรูปของลิควิดไนโตรเจน ถ้าจะต้องการใช้ก๊าซในไตรเจน จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ ก่อนนำไปใช้
 
ปัจจุบัน ด้วยนวัตกรรมที่มีมากขึ้น การปรับเปลี่ยนแหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจนให้ตอบโจทย์ในการใช้งานได้มีประสิทธิภาพ ใช้งานสะดวกมากขึ้น และให้ความคุ้มค่าในระยะยาว จึงมีการผลิตเครื่องผลิตไนโตรเจน หรือ Nitrogen Generator
 

การนำก๊าซไนโตรเจนไปใช้งาน

-การอบแห้งพืชและวัตถุดิบ
-ปุ๋ยไนโตรเจนช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
-ป้องกันการลุกไหม้ในเครื่องบิน
-ไนโตรเจนช่วยเพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
-ป้องกันอาหารเน่าเสีย
-เพิ่มคุณภาพพลาสติก
 
-ไนโตรเจนในอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊ส
-การใช้ไนโตรเจนในการขนส่งสินค้า
-ไนโตรเจนสำหรับการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
-การทำความสะอาดถังน้ำมัน
-ป้องกันการเกิดเพลิงไหม้และการระเบิดระหว่างทำเหมืองหรือขุดอุโมงค์
-ใช้ไนโตรเจนเป็นก๊าซกันรั่วสำหรับป้องกันการระเบิดของเครื่องอัดเทอร์โบ
-ไนโตรเจนสำหรับอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชกรรม
-ช่วยสนับสนุนกระบวนการผลิตและป้องกันการระเบิดในอุตสาหกรรมโลหะ
-ไนโตรเจนสำหรับใช้งานในกระบวนการเชื่อม
-ก๊าซเฉื่อยสำหรับเชื่อมประสาน
 
-เป็นชั้นป้องกันสำหรับกระบวนการบัดกรี
-ไนโตรเจนสำหรับใช้ในการเชื่อมไฟฟ้า
-เพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
-การจัดเก็บสินค้าและอาหาร
-ไนโตรเจนสำหรับบรรจุภัณฑ์สินค้าและอาหาร
-การผสมและการบรรจุสินค้า
-ป้องกันการระเบิดของฝุ่น
-การวางซ้อนและการขนส่งสินค้า
-การบดวัตถุดิบ
 
Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต
บริษัท สยามวอเตอร์เฟลม ( siamwateflame ) มีเครื่อง Nitrogen generator ที่มีขนาดกระทัดรัด และทีมงานติดตั้งที่พร้อมให้บริการ
 

Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต

การผลิต Nitrogen

    ในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ บรรยากาศและก๊าซที่อยู่ในบรรยากาศก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน อาทิ ใช้ในการพ่น การเป่า การขับเคลื่อนวัตถุดิบเพื่อการผลิต ฯลฯ แต่ในการผลิตยาและเครื่องสำอางที่ต้องการเรื่องความปลอดภัยที่สูง การใช้ก๊าซที่มีคุณสมบัติที่ไม่ทำปฏิกริยากับสิ่งที่ผลิต และเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน ก๊าซไนโตรเจน จึงเป็นก๊าซที่มีบทบาทสูงมาก
 
“ด้วยคุณสมบัติของก๊าซไนโตรเจน เปรียบเสมือนก๊าซเฉื่อย ไม่ติดไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ และมีปริมาณมากที่สุดในบรรยากาศ คือ 78% ขณะที่ก๊าซออกซิเจนในบรรยากาศจะมีปริมาณ 20.9% แต่ออกซิเจนเป็นตัวที่ทำให้เกิดปัญหามากที่สุด

 

Nitrogen ก๊าซไนโตรเจน ใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ในการผลิต

    หากเป็นการใช้งานโดยทั่วไป เช่น การเติมยางรถยนต์ ใช้เป็นตัวทดสอบระบบการรั่วของท่อ หรือเรียกว่า test leak เพราะท่อหรือ คอยล์ ต่างๆ การเชื่อมเป็นข้อเล็กๆ เราสามารถอัดก๊าซไนโตรเจนเข้าไปเพื่อทดสอบว่ามีการรั่วไหลหรือไม่ และก๊าซไนโตรเจนเป็น clean dry gas มีจุด dew point ที่ -40 ํC คือเป็นก๊าซที่แห้งมาก ไม่ก่อให้เกิดการควบแน่น หรือ condense 
 
ในท่อ เช่นลมที่ส่งในท่อระยะทางสิบกิโลเมตร ถ้าเป็นลมทั่วไปจะเกิดหยดน้ำในระหว่างทาง แต่หากใช้ก๊าซไนโตรเจนจะไม่เกิดการควบแน่น เรียกว่าเป็นก๊าซที่แห้งมาก เป็น inert gas เพราะฉะนั้นก๊าซอะไรก็ตามที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรม หากจะก่อให้เกิดปฏิกริยาทางเคมี เราจะใช้ไนโตรเจนเข้าไปแทนที่ จึงทำให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นก๊าซที่มีการใช้กันมาก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิตยาและเครื่องสำอาง ซึ่งเป็นสินค้าที่ต้องมีคุณภาพที่มาตรฐานความปลอดภัยรองรับ”
 
นอกจากนั้น ในโรงงานอุตสาหกรรมยังใช้ก๊าซไนโตรเจนในขั้นตอนของการเก็บรักษา หรือ stock material post โดยใช้ในขั้นตอนของแพ็คเกจจิ้ง ก่อนที่จะ finishing product โดยจะเก็บไนโตรเจนเอาไว้ในแพคเกจจิ้ง เพื่อยืดอายุของตัวยา ป้องกันการเกิดปฏิกริยาที่จะทำให้คุณสมบัติของยาเปลี่ยนไป

 

เครื่องผลิตก๊าซไนโตรเจนช่วยลดต้นทุนและทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

     มีการใช้งานก๊าซไนโตรเจนภายในอุตสาหกรรมอยู่หลายด้าน มีกระบวนการมากมายที่จำเป็นต้องใช้ก๊าซไนโตรเจนบริสุทธิ์อย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย และการลดต้นทุนให้ต่ำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกัน มีวิธีการใดหรือไม่ที่ทำให้อุตสาหกรรมของท่านสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างยั่งยืน

การผลิตก๊าซไนโตรเจนใช้ภายในโรงงานช่วยลดต้นทุนได้มหาศาล และทดแทนการใช้ไนโตรเจนเหลวหรือไนโตรเจนบรรจุหลอดได้อย่างคุ้มค่า การผลิตก๊าซไนโตรเจนต้นทุนต่ำภายในโรงงานจากอากาศโดยรอบทำให้การลงทุนคุ้มค่าอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้อุตสาหกรรมของท่านประสบความสำเร็จ
 
การผลิตก๊าซไนโตรเจนภายในโรงงานยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการขาดแคลนและการทำงานหยุดชะงักลงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลหรือเข้าถึงยาก ซึ่งการขนส่งไนโตรเจนเหลวไม่สามารถดำเนินการได้ การผลิต N2 ภายในโรงงานทำให้มีก๊าซไนโตรเจนใช้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ที่ใด
การเลือกใช้ก๊าซไนโตรเจน
 
แหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจน ที่มีการใช้กันในอุตสาหกรรมมีหลายรูปแบบ คือ
1. แบบถัง cylinder ที่บรรจุเป็นก๊าซไนโตรเจน
2. แบบ Dewar เป็นโนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว
3. แบบ Bulk จะเก็บในรูปของไนโตรเจนเหลว ถ้าต้องการใช้ก็จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ
      ในแต่ละแบบจะมีข้อดี ข้อเสีย รวมถึงต้นทุนที่ต่างกัน โดยแบบถังก๊าซไนโตรเจน หรือที่เรียกว่า cylinder อาจจะเป็นรูปแบบที่คุ้นตา เนื่องจากมีการใช้กันมาก เพราะราคาถูกในตอนเริ่มต้น แต่ก็มีข้อเสียคือ ต้องมีการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย เนื่องจากการขนย้าย หรือ การเปลี่ยนถังต่างๆ อาจเกิดอุบัติเหตุได้ เนื่องจากความอัดอากาศภายในถังมีความกดสูงถึง 200 บาร์ หากตัวเปิดปิดไม่สมบูรณ์อาจเกิดการระเบิด และอันตรายจากแรงดันของถังได้ ข้อเสีย คือไม่สามารถตรวจสอบคุณสมบัติของก๊าซโนไตรเจนที่ใช้ได้
แบบที่สองคือ Dewar จะเก็บไนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว การใช้งานจะมีชุดวาวล์เป็นตัวคอนโทรล จะมีการสูญเสียก๊าซไนโตรเจน ถ้าเราไม่ได้ใช้นาน
แบบที่สามคือ Bulk เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมในภาคอุตสาหกรรม โดยจะเก็บในรูปของลิควิดไนโตรเจน ถ้าจะต้องการใช้ก๊าซในไตรเจน จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ ก่อนนำไปใช้
 
ปัจจุบัน ด้วยนวัตกรรมที่มีมากขึ้น การปรับเปลี่ยนแหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจนให้ตอบโจทย์ในการใช้งานได้มีประสิทธิภาพ ใช้งานสะดวกมากขึ้น และให้ความคุ้มค่าในระยะยาว จึงมีการผลิตเครื่องผลิตไนโตรเจน หรือ Nitrogen Generator
 

การนำก๊าซไนโตรเจนไปใช้งาน

 
-การอบแห้งพืชและวัตถุดิบ
-ปุ๋ยไนโตรเจนช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
-ป้องกันการลุกไหม้ในเครื่องบิน
-ไนโตรเจนช่วยเพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
-ป้องกันอาหารเน่าเสีย
-เพิ่มคุณภาพพลาสติก
-ไนโตรเจนในอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊ส
-การใช้ไนโตรเจนในการขนส่งสินค้า
-ไนโตรเจนสำหรับการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
-การทำความสะอาดถังน้ำมัน
-ป้องกันการเกิดเพลิงไหม้และการระเบิดระหว่างทำเหมืองหรือขุดอุโมงค์
-ใช้ไนโตรเจนเป็นก๊าซกันรั่วสำหรับป้องกันการระเบิดของเครื่องอัดเทอร์โบ
-ไนโตรเจนสำหรับอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชกรรม
-ช่วยสนับสนุนกระบวนการผลิตและป้องกันการระเบิดในอุตสาหกรรมโลหะ
-ไนโตรเจนสำหรับใช้งานในกระบวนการเชื่อม
-ก๊าซเฉื่อยสำหรับเชื่อมประสาน
-เป็นชั้นป้องกันสำหรับกระบวนการบัดกรี
-ไนโตรเจนสำหรับใช้ในการเชื่อมไฟฟ้า
-เพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
-การจัดเก็บสินค้าและอาหาร
-ไนโตรเจนสำหรับบรรจุภัณฑ์สินค้าและอาหาร
-การผสมและการบรรจุสินค้า
-ป้องกันการระเบิดของฝุ่น
-การวางซ้อนและการขนส่งสินค้า
-การบดวัตถุดิบ
 
Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต
” บริษัท สยามวอเตอร์เฟลม ( siamwateflame ) มีเครื่อง Nitrogen generator ที่มีขนาดกระทัดรัด และทีมงานติดตั้งที่พร้อมให้บริการ “
 
 
Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต
การผลิต Nitrogen
    ในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ บรรยากาศและก๊าซที่อยู่ในบรรยากาศก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน อาทิ ใช้ในการพ่น การเป่า การขับเคลื่อนวัตถุดิบเพื่อการผลิต ฯลฯ แต่ในการผลิตยาและเครื่องสำอางที่ต้องการเรื่องความปลอดภัยที่สูง 
 
การใช้ก๊าซที่มีคุณสมบัติที่ไม่ทำปฏิกริยากับสิ่งที่ผลิต และเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน ก๊าซไนโตรเจน จึงเป็นก๊าซที่มีบทบาทสูงมาก
 
“ด้วยคุณสมบัติของก๊าซไนโตรเจน เปรียบเสมือนก๊าซเฉื่อย ไม่ติดไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ และมีปริมาณมากที่สุดในบรรยากาศ คือ 78% ขณะที่ก๊าซออกซิเจนในบรรยากาศจะมีปริมาณ 20.9% แต่ออกซิเจนเป็นตัวที่ทำให้เกิดปัญหามากที่สุด
 

Nitrogen ก๊าซไนโตรเจน ใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ในการผลิต

 
    หากเป็นการใช้งานโดยทั่วไป เช่น การเติมยางรถยนต์ ใช้เป็นตัวทดสอบระบบการรั่วของท่อ หรือเรียกว่า test leak เพราะท่อหรือ คอยล์ ต่างๆ การเชื่อมเป็นข้อเล็กๆ เราสามารถอัดก๊าซไนโตรเจนเข้าไปเพื่อทดสอบว่ามีการรั่วไหลหรือไม่ และก๊าซไนโตรเจนเป็น clean dry gas มีจุด dew point ที่ -40 ํC คือเป็นก๊าซที่แห้งมาก ไม่ก่อให้เกิดการควบแน่น หรือ condense 
 
ในท่อ เช่นลมที่ส่งในท่อระยะทางสิบกิโลเมตร ถ้าเป็นลมทั่วไปจะเกิดหยดน้ำในระหว่างทาง แต่หากใช้ก๊าซไนโตรเจนจะไม่เกิดการควบแน่น เรียกว่าเป็นก๊าซที่แห้งมาก เป็น inert gas เพราะฉะนั้นก๊าซอะไรก็ตามที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรม หากจะก่อให้เกิดปฏิกริยาทางเคมี เราจะใช้ไนโตรเจนเข้าไปแทนที่ จึงทำให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นก๊าซที่มีการใช้กันมาก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิตยาและเครื่องสำอาง ซึ่งเป็นสินค้าที่ต้องมีคุณภาพที่มาตรฐานความปลอดภัยรองรับ”
 
นอกจากนั้น ในโรงงานอุตสาหกรรมยังใช้ก๊าซไนโตรเจนในขั้นตอนของการเก็บรักษา หรือ stock material post โดยใช้ในขั้นตอนของแพ็คเกจจิ้ง ก่อนที่จะ finishing product โดยจะเก็บไนโตรเจนเอาไว้ในแพคเกจจิ้ง เพื่อยืดอายุของตัวยา ป้องกันการเกิดปฏิกริยาที่จะทำให้คุณสมบัติของยาเปลี่ยนไป
 

เครื่องผลิตก๊าซไนโตรเจนช่วยลดต้นทุนและทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

 
     มีการใช้งานก๊าซไนโตรเจนภายในอุตสาหกรรมอยู่หลายด้าน มีกระบวนการมากมายที่จำเป็นต้องใช้ก๊าซไนโตรเจนบริสุทธิ์อย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย และการลดต้นทุนให้ต่ำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกัน มีวิธีการใดหรือไม่ที่ทำให้อุตสาหกรรมของท่านสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างยั่งยืน
 
การผลิตก๊าซไนโตรเจนใช้ภายในโรงงานช่วยลดต้นทุนได้มหาศาล และทดแทนการใช้ไนโตรเจนเหลวหรือไนโตรเจนบรรจุหลอดได้อย่างคุ้มค่า การผลิตก๊าซไนโตรเจนต้นทุนต่ำภายในโรงงานจากอากาศโดยรอบทำให้การลงทุนคุ้มค่าอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้อุตสาหกรรมของท่านประสบความสำเร็จ
 
การผลิตก๊าซไนโตรเจนภายในโรงงานยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการขาดแคลนและการทำงานหยุดชะงักลงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลหรือเข้าถึงยาก ซึ่งการขนส่งไนโตรเจนเหลวไม่สามารถดำเนินการได้ การผลิต N2 ภายในโรงงานทำให้มีก๊าซไนโตรเจนใช้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ที่ใด
การเลือกใช้ก๊าซไนโตรเจน
 
      แหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจน ที่มีการใช้กันในอุตสาหกรรมมีหลายรูปแบบ คือ
1. แบบถัง cylinder ที่บรรจุเป็นก๊าซไนโตรเจน
2. แบบ Dewar เป็นโนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว
3. แบบ Bulk จะเก็บในรูปของไนโตรเจนเหลว ถ้าต้องการใช้ก็จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ
 
      ในแต่ละแบบจะมีข้อดี ข้อเสีย รวมถึงต้นทุนที่ต่างกัน โดยแบบถังก๊าซไนโตรเจน หรือที่เรียกว่า cylinder อาจจะเป็นรูปแบบที่คุ้นตา เนื่องจากมีการใช้กันมาก เพราะราคาถูกในตอนเริ่มต้น แต่ก็มีข้อเสียคือ ต้องมีการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย เนื่องจากการขนย้าย หรือ การเปลี่ยนถังต่างๆ อาจเกิดอุบัติเหตุได้ เนื่องจากความอัดอากาศภายในถังมีความกดสูงถึง 200 บาร์ หากตัวเปิดปิดไม่สมบูรณ์อาจเกิดการระเบิด และอันตรายจากแรงดันของถังได้ ข้อเสีย คือไม่สามารถตรวจสอบคุณสมบัติของก๊าซโนไตรเจนที่ใช้ได้
 
แบบที่สองคือ Dewar จะเก็บไนโตรเจนในรูปของไนโตรเจนเหลว การใช้งานจะมีชุดวาวล์เป็นตัวคอนโทรล จะมีการสูญเสียก๊าซไนโตรเจน ถ้าเราไม่ได้ใช้นาน
แบบที่สามคือ Bulk เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมในภาคอุตสาหกรรม โดยจะเก็บในรูปของลิควิดไนโตรเจน ถ้าจะต้องการใช้ก๊าซในไตรเจน จะมี evaporation ทำให้ไนโตรเจนที่เป็นของเหลว กลายเป็นก๊าซ ก่อนนำไปใช้
 
ปัจจุบัน ด้วยนวัตกรรมที่มีมากขึ้น การปรับเปลี่ยนแหล่งผลิตก๊าซไนโตรเจนให้ตอบโจทย์ในการใช้งานได้มีประสิทธิภาพ ใช้งานสะดวกมากขึ้น และให้ความคุ้มค่าในระยะยาว จึงมีการผลิตเครื่องผลิตไนโตรเจน หรือ Nitrogen Generator
 

การนำก๊าซไนโตรเจนไปใช้งาน

-การอบแห้งพืชและวัตถุดิบ
-ปุ๋ยไนโตรเจนช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
-ป้องกันการลุกไหม้ในเครื่องบิน
-ไนโตรเจนช่วยเพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
 
-ป้องกันอาหารเน่าเสีย
-เพิ่มคุณภาพพลาสติก
-ไนโตรเจนในอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊ส
-การใช้ไนโตรเจนในการขนส่งสินค้า
-ไนโตรเจนสำหรับการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
-การทำความสะอาดถังน้ำมัน
-ป้องกันการเกิดเพลิงไหม้และการระเบิดระหว่างทำเหมืองหรือขุดอุโมงค์
 
-ใช้ไนโตรเจนเป็นก๊าซกันรั่วสำหรับป้องกันการระเบิดของเครื่องอัดเทอร์โบ
-ไนโตรเจนสำหรับอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชกรรม
-ช่วยสนับสนุนกระบวนการผลิตและป้องกันการระเบิดในอุตสาหกรรมโลหะ
-ไนโตรเจนสำหรับใช้งานในกระบวนการเชื่อม
-ก๊าซเฉื่อยสำหรับเชื่อมประสาน
 
-เป็นชั้นป้องกันสำหรับกระบวนการบัดกรี
-ไนโตรเจนสำหรับใช้ในการเชื่อมไฟฟ้า
-เพิ่มคุณภาพในการตัดด้วยแสงเลเซอร์
-การจัดเก็บสินค้าและอาหาร
-ไนโตรเจนสำหรับบรรจุภัณฑ์สินค้าและอาหาร
-การผสมและการบรรจุสินค้า
-ป้องกันการระเบิดของฝุ่น
-การวางซ้อนและการขนส่งสินค้า
-การบดวัตถุดิบ
 
Nitrogen Gas กับ บทบาทในการผลิต
” บริษัท สยามวอเตอร์เฟลม ( siamwateflame ) มีเครื่อง Nitrogen generator ที่มีขนาดกระทัดรัด และทีมงานติดตั้งที่พร้อมให้บริการ “
 

Siam water Flame เรายังมีเครื่อง Nitrogen generator  ไว้บริการสำหรับท่านที่สนใจ

error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!